ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดเพชรบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดเพชรบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

← พ.ศ. 2549 (โมฆะ) 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2554 →

3 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ82.01%
  First party Second party
 
พรรค ประชาธิปัตย์ พลังประชาชน
ที่นั่งก่อนหน้า 2 0
ที่นั่งที่ชนะ 3 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 Steady0
คะแนนเสียง 178,881 42,266
% 71.36 16.86

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

สุรยุทธ์ จุลานนท์
อิสระ (คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ)

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

สมัคร สุนทรเวช
พลังประชาชน

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบุรี พ.ศ. 2550 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 1 เขตเลือกตั้ง[1] มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 3 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2549 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบสัดส่วน (รวมทั้งจังหวัดเพชรบุรี)

[แก้]
พรรค คะแนนเสียง
จน. % +/–
ประชาธิปัตย์ 178,881 71.36% เพิ่มขึ้น26.18%
พลังประชาชน 42,266 16.86% ลดลง21.86%
อื่น ๆ 29,529 11.78% ลดลง4.32%
ผลรวม 250,676 100.00%
  • คะแนนเลือกตั้งแบบสัดส่วนเปรียบเทียบจากผลคะแนนเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อเมื่อปี พ.ศ. 2548
  • คะแนนเลือกตั้งแบบสัดส่วนพรรคพลังประชาชนเปรียบเทียบจากผลรวมคะแนนเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อของพรรคพลังประชาชน (เดิม) และพรรคไทยรักไทย
คะแนนเสียง
ประชาธิปัตย์
  
71.36%
พลังประชาชน
  
16.86%
อื่น ๆ
  
11.78%

ผลการเลือกตั้งแบบสัดส่วน (รายเขตเลือกตั้ง)

[แก้]
เขตการเลือกตั้ง ประชาธิปัตย์ พลังประชาชน อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง ส.ส.แบ่งเขต
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 178,881 71.36% 42,266 16.86% 29,529 11.78% 250,676 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
ผลรวม 178,881 71.36% 42,266 16.86% 29,529 11.78% 250,676 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งจังหวัดเพชรบุรี)

[แก้]
พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
ที่นั่ง
จน. +/– %
ประชาธิปัตย์ 3 3 เพิ่มขึ้น1 100.00%
พลังประชาชน 3 0 Steady 0.00%
ไทยรักไทย ลดลง1 0.00%
อื่น ๆ 21 0 Steady 0.00%
ผลรวม 27 3 Steady 100.00%
ที่นั่ง
ประชาธิปัตย์
  
100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง)

[แก้]
เขตการเลือกตั้ง ลำดับ คะแนนที่ได้รับ ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง %
เขต 1 1 161,786 63.15% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
2 133,126 51.96% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
3 124,044 48.44% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง

ผลการเลือกตั้งแบบสัดส่วน

[แก้]

คะแนนรวมทั้งหมดในกลุ่มจังหวัดที่ 7

[แก้]

กลุ่มจังหวัดที่ 7 ประกอบไปด้วยจังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดนครปฐม จังหวัดราชบุรี จังหวัดเพชรบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดชุมพร จังหวัดระนอง จังหวัดชัยนาท จังหวัดสิงห์บุรี จังหวัดอ่างทอง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดสระบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดสมุทรสงคราม ทั้งหมด 15 จังหวัด

 •  ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน กลุ่มจังหวัดที่ 7
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อแผ่นดิน (1) 90,846 2.31
รวมใจไทยชาติพัฒนา (2) 52,434 1.33
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (3) 53,964 1.37
ประชาธิปัตย์ (4) 1,856,811 47.20
พลังเกษตรกร (5)
รักเมืองไทย (6) 26,720 0.68
แรงงาน (7)
เกษตรกรไทย (8) 32,347 0.82
ประชาราช (9)
นิติศาสตร์ไทย (10)
พัฒนาประชาธิปไตย (11)
พลังประชาชน (12) 1,133,984 28.83
ชาติไทย (13) 564,684 14.36
ดำรงไทย (14)
มัชฌิมาธิปไตย (15) 63,154 1.61
ชาติสามัคคี (16)
ความหวังใหม่ (17) 16,387 0.42
ประชากรไทย (18)
ประชามติ (19) 12,156 0.31
ไทเป็นไท (20) 14,466 0.37
พลังแผ่นดินไท (21)
มหาชน (22)
คุณธรรม (23)
ราษฎรรักไทย (24)
กฤษไทยมั่นคง (25)
อยู่ดีมีสุข (26)
ไทยร่ำรวย (27) 8,169 0.21
เอกราช (28)
พลังแผ่นดิน (29) 7,556 0.19
สังคมธิปไตย (30)
นำวิถี (31)
บัตรดี 3,933,580 91.19
บัตรเสีย 242,527 5.62
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 137,778 3.19
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 4,313,885 77.87
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 5,540,130 100.00

ผู้สมัครที่ได้รับการเลือกตั้งในกลุ่มจังหวัดที่ 7

[แก้]

แต่ละกลุ่มจังหวัดมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกลุ่มละ 10 คน สำหรับกลุ่มจังหวัดที่ 7 แบ่งออกเป็นตามสัดส่วนคะแนนดังนี้

พรรคการเมือง รายชื่อผู้สมัคร
พรรคประชาธิปัตย์ พลตรี มนูญกฤต รูปขจร
นิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์
สุวโรช พะลัง
อรรถพร พลบุตร
ปัญญวัฒน์ บุญมี
พรรคพลังประชาชน ไชยา สะสมทรัพย์
พลตรี ศรชัย มนตริวัต
ร้อยตำรวจโท เชาวริน ลัทธศักดิ์ศิริ
พรรคชาติไทย กัญจนา ศิลปอาชา
ประภัตร โพธสุธน

คะแนนรวมเฉพาะจังหวัดเพชรบุรี

[แก้]
 •  ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน จังหวัดเพชรบุรี
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อแผ่นดิน (1) 2,558 1.02
รวมใจไทยชาติพัฒนา (2) 1,352 0.54
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (3) 1,614 0.64
ประชาธิปัตย์ (4) 178,881 71.36
พลังเกษตรกร (5)
รักเมืองไทย (6) 2,131 0.85
แรงงาน (7)
เกษตรกรไทย (8) 2,804 1.12
ประชาราช (9)
นิติศาสตร์ไทย (10)
พัฒนาประชาธิปไตย (11)
พลังประชาชน (12) 42,266 16.86
ชาติไทย (13) 11,859 4.73
ดำรงไทย (14)
มัชฌิมาธิปไตย (15) 3,216 1.28
ชาติสามัคคี (16)
ความหวังใหม่ (17) 712 0.28
ประชากรไทย (18)
ประชามติ (19) 800 0.32
ไทเป็นไท (20) 1,544 0.62
พลังแผ่นดินไท (21)
มหาชน (22)
คุณธรรม (23)
ราษฎรรักไทย (24)
กฤษไทยมั่นคง (25)
อยู่ดีมีสุข (26)
ไทยร่ำรวย (27) 611 0.24
เอกราช (28)
พลังแผ่นดิน (29) 328 0.13
สังคมธิปไตย (30)
นำวิถี (31)
บัตรดี 250,676 92.61
บัตรเสีย 13,071 4.83
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 6,923 2.56
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 270,670 82.01
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 330,064 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยจังหวัดเพชรบุรีทั้งจังหวัด

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดเพชรบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ อลงกรณ์ พลบุตร (7)* 161,786 63.15
ประชาธิปัตย์ อภิชาติ สุภาแพ่ง (9)* 133,126 51.96
ประชาธิปัตย์ กัมพล สุภาแพ่ง (8) 124,094 48.44
พลังประชาชน ธิวัลรัตน์ อังกินันทน์ (11) 78,620 30.69
พลังประชาชน ธานินทร์ แสงวณิช (12) 69,995 27.32
พลังประชาชน ปิยะ อังกินันทน์ (10)✔ 48,499 18.93
ชาติไทย ปรีชา สีน้ำเพชร (4) 26,774 10.45
มัชฌิมาธิปไตย พิชัย ขำเพช (15) 22,330 8.72
ชาติไทย ร้อยเอก ธีระ วาทะกุล (6) 15,591 6.09
มัชฌิมาธิปไตย บุญชู รัตนชลธาร (14) 5,688 2.22
คุณธรรม อรรถพล ธำรงดิเรกฤทธิ์ (1) 4,428 1.73
ชาติไทย สมชาย ปานปิ่นแก้ว (5) 3,802 1.48
มัชฌิมาธิปไตย นิติพล จำปาเทศ (13) 3,368 1.32
คุณธรรม นรินทร์ นุชเนื่อง (3) 2,411 0.94
ประชามติ สายัณห์ สังข์พุก (18) 1,226 0.48
ประชามติ บรรยง ดวงเด่น (16) 1,165 0.46
ประชามติ เสาวภา สมสกุล (17) 1,014 0.40
รักเมืองไทย อัครพนธุ์ กมลรัตน์ฐากูร (22) 939 0.37
อุดมรัฐ ณัฐธิดา สมศรี (21) 901 0.35
อุดมรัฐ ฉลองชัย กิจชนะพานิชย์ (20) 628 0.25
รักเมืองไทย รตนพรวรรณ แก้วพรม (23) 595 0.23
อุดมรัฐ นารีรัตน์ บวงสรวง (19) 592 0.23
รักเมืองไทย สมนึก ทองอินทร์ (24) 440 0.17
บัตรดี 256,209 94.66
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 8,424 3.11
บัตรเสีย 6,037 2.23
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 270,670 82.01
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 330,064 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูลสถิติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2550". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-06-06. สืบค้นเมื่อ 13 December 2020.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]