ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดร้อยเอ็ดในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดร้อยเอ็ดในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

← พ.ศ. 2549 (โมฆะ) 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2554 →

8 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ68.22%
  First party Second party Third party
 
พรรค พลังประชาชน เพื่อแผ่นดิน ประชาธิปัตย์
ที่นั่งก่อนหน้า 0 พรรคใหม่ 0
ที่นั่งที่ชนะ 7 1 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น7 เพิ่มขึ้น1 Steady0
คะแนนเสียง 435,938 51,641 57,014
% 71.83 8.51 9.39

  Fourth party
 
พรรค ชาติไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 2
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง2
คะแนนเสียง 20,635
% 3.40

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

สุรยุทธ์ จุลานนท์
อิสระ (คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ)

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

สมัคร สุนทรเวช
พลังประชาชน

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดร้อยเอ็ด พ.ศ. 2550 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง[1] มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 8 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2549 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1 และ 2) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 3)

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบสัดส่วน (รวมทั้งจังหวัดร้อยเอ็ด)

[แก้]
พรรค คะแนนเสียง
จน. % +/–
พลังประชาชน 435,938 71.83% ลดลง12.10%
เพื่อแผ่นดิน 51,641 8.51% เพิ่มขึ้น8.51%
ประชาธิปัตย์ 57,014 9.39% เพิ่มขึ้น6.70%
ชาติไทย 20,635 3.40% ลดลง2.69%
อื่น ๆ 41,685 6.87% ลดลง0.42%
ผลรวม 606,913 100.00%
  • คะแนนเลือกตั้งแบบสัดส่วนเปรียบเทียบจากผลคะแนนเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อเมื่อปี พ.ศ. 2548
  • คะแนนเลือกตั้งแบบสัดส่วนพรรคพลังประชาชนเปรียบเทียบจากผลรวมคะแนนเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อของพรรคพลังประชาชน (เดิม) และพรรคไทยรักไทย
คะแนนเสียง
พลังประชาชน
  
71.83%
เพื่อแผ่นดิน
  
8.51%
ประชาธิปัตย์
  
9.39%
ชาติไทย
  
3.40%
อื่น ๆ
  
6.87%

ผลการเลือกตั้งแบบสัดส่วน (รายเขตเลือกตั้ง)

[แก้]
เขตการเลือกตั้ง พลังประชาชน เพื่อแผ่นดิน ประชาธิปัตย์ อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง ส.ส.แบ่งเขต
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 164,719 69.14% 13,087 5.49% 28,455 11.94% 31,966 13.43% 238,227 100.00% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
เขต 2 183,793 80.86% 10,786 4.75% 17,129 7.54% 15,599 6.85% 227,307 100.00% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
เขต 3 87,426 61.84% 27,768 19.64% 11,430 8.08% 14,755 10.44% 141,379 100.00% เพื่อแผ่นดิน ได้ที่นั่ง
พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
ผลรวม 435,938 71.83% 51,641 8.51% 57,014 9.39% 62,320 10.27% 606,913 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งจังหวัดร้อยเอ็ด)

[แก้]
พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
ที่นั่ง
จน. +/– %
พลังประชาชน 8 7 เพิ่มขึ้น7 87.50%
เพื่อแผ่นดิน 8 1 เพิ่มขึ้น1 12.50%
ไทยรักไทย ลดลง6 0.00%
ชาติไทย ลดลง2 0.00%
อื่น ๆ 85 0 Steady 0.00%
ผลรวม 101 8 Steady 100.00%
ที่นั่ง
พลังประชาชน
  
87.50%
เพื่อแผ่นดิน
  
12.50%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง)

[แก้]
เขตการเลือกตั้ง ลำดับ คะแนนที่ได้รับ ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง %
เขต 1 1 139,402 56.88% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
2 125,289 51.12% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
3 108,788 44.39% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
เขต 2 1 146,263 62.90% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
2 145,522 62.58% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
3 140,000 60.20% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
เขต 3 1 62,281 43.76% เพื่อแผ่นดิน ได้ที่นั่ง
2 49,660 34.89% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง

ผลการเลือกตั้งแบบสัดส่วน

[แก้]

คะแนนรวมทั้งหมดในกลุ่มจังหวัดที่ 4

[แก้]

กลุ่มจังหวัดที่ 4 ประกอบไปด้วยจังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัดยโสธร จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดศรีสะเกษ จังหวัดสุรินทร์ และจังหวัดบุรีรัมย์ จำนวน 6 จังหวัด

 •  ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน กลุ่มจังหวัดที่ 4
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อแผ่นดิน (1) 345,672 9.70
รวมใจไทยชาติพัฒนา (2) 65,583 1.84
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (3)
ประชาธิปัตย์ (4) 681,617 19.12
พลังเกษตรกร (5)
รักเมืองไทย (6)
แรงงาน (7)
เกษตรกรไทย (8) 35,809 1.00
ประชาราช (9) 54,590 1.53
นิติศาสตร์ไทย (10)
พัฒนาประชาธิปไตย (11) 40,633 1.14
พลังประชาชน (12) 2,039,964 57.24
ชาติไทย (13) 105,883 2.97
ดำรงไทย (14) 11,477 0.32
มัชฌิมาธิปไตย (15) 81,947 2.30
ชาติสามัคคี (16)
ความหวังใหม่ (17) 26,945 0.76
ประชากรไทย (18)
ประชามติ (19) 29,724 0.83
ไทเป็นไท (20) 22,799 0.64
พลังแผ่นดินไท (21)
มหาชน (22)
คุณธรรม (23)
ราษฎรรักไทย (24)
กฤษไทยมั่นคง (25)
อยู่ดีมีสุข (26)
ไทยร่ำรวย (27) 7,221 0.20
เอกราช (28)
พลังแผ่นดิน (29) 14,252 0.40
สังคมธิปไตย (30)
นำวิถี (31)
บัตรดี 3,564,116 91.47
บัตรเสีย 252,728 6.49
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 79,314 2.04
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 3,896,158 72.62
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 5,365,305 100.00

ผู้สมัครที่ได้รับการเลือกตั้งในกลุ่มจังหวัดที่ 4

[แก้]

แต่ละกลุ่มจังหวัดมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกลุ่มละ 10 คน สำหรับกลุ่มจังหวัดที่ 4 แบ่งออกเป็นตามสัดส่วนคะแนนดังนี้

พรรคการเมือง รายชื่อผู้สมัคร
พรรคพลังประชาชน สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี
ชัย ชิดชอบ
เพิ่มพูน ทองศรี
อดิศักดิ์ โภคกุลกานนท์
พลตำรวจเอก วิรุฬห์ พื้นแสน
พฤฒิชัย วิริยะโรจน์
พรรคประชาธิปัตย์ วิฑูรย์ นามบุตร
ดนัย นพสุวรรณวงศ์
พรรคเพื่อแผ่นดิน วัลลภ ไทยเหนือ
พรรคชาติไทย วีระศักดิ์ โควสุรัตน์

คะแนนรวมเฉพาะจังหวัดร้อยเอ็ด

[แก้]
 •  ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน จังหวัดร้อยเอ็ด
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อแผ่นดิน (1) 51,641 8.51
รวมใจไทยชาติพัฒนา (2) 9,955 1.64
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (3)
ประชาธิปัตย์ (4) 57,014 9.39
พลังเกษตรกร (5)
รักเมืองไทย (6)
แรงงาน (7)
เกษตรกรไทย (8) 4,219 0.70
ประชาราช (9) 5,327 0.88
นิติศาสตร์ไทย (10)
พัฒนาประชาธิปไตย (11) 3,649 0.60
พลังประชาชน (12) 435,938 71.83
ชาติไทย (13) 20,635 3.40
ดำรงไทย (14) 846 0.14
มัชฌิมาธิปไตย (15) 3,511 0.58
ชาติสามัคคี (16)
ความหวังใหม่ (17) 3,235 0.53
ประชากรไทย (18)
ประชามติ (19) 5,149 0.85
ไทเป็นไท (20) 2,869 0.47
พลังแผ่นดินไท (21)
มหาชน (22)
คุณธรรม (23)
ราษฎรรักไทย (24)
กฤษไทยมั่นคง (25)
อยู่ดีมีสุข (26)
ไทยร่ำรวย (27) 844 0.14
เอกราช (28)
พลังแผ่นดิน (29) 2,081 0.34
สังคมธิปไตย (30)
นำวิถี (31)
บัตรดี 606,913 94.11
บัตรเสีย 27,884 4.32
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 10,146 1.57
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 644,943 68.22
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 945,373 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบไปด้วยอำเภอเมืองร้อยเอ็ด อำเภอธวัชบุรี อำเภออาจสามารถ อำเภอโพธิ์ชัย อำเภอศรีสมเด็จ อำเภอจังหาร อำเภอเชียงขวัญ และอำเภอทุ่งเขาหลวง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดร้อยเอ็ด
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชาชน ฉลาด ขามช่วง (19)* 139,402 56.88
พลังประชาชน เศกสิทธิ์ ไวนิยมพงศ์ (21)** 125,289 51.12
พลังประชาชน วราวงษ์ พันธุ์ศิลา (20) 108,788 44.39
ชาติไทย อนุรักษ์ จุรีมาศ (5)* 103,141 42.08
เพื่อแผ่นดิน สานิต ว่องสัธนพงษ์ (13)✔ 69,980 28.55
ประชาธิปัตย์ ทินกร อ่อนประทุม (18) 11,365 4.64
ประชาราช บุญชิด ทัศพัฒนะ (12) 10,613 4.33
มัชฌิมาธิปไตย พลโท กิตติภูมิ ศรีวฤทธิ์ (22) 6,757 2.76
ประชาธิปัตย์ ทวีวัฒน์ รัตนสงคราม (16) 6,344 2.59
ประชาธิปัตย์ สิทธิเกียรติ ระดาพัฒน์ (17) 5,438 2.22
มัชฌิมาธิปไตย วีระวัฒน์ โพธิ์เปี้ยศรี (24) 5,305 2.16
มัชฌิมาธิปไตย จารุวรรณ ศรีลาภ (23) 4,819 1.97
เพื่อแผ่นดิน บัณฑิตย์ ออมไธสง (14) 4,430 1.81
ความหวังใหม่ เกียรติศักดิ์ ไค่นุ่นกา (1) 3,396 1.39
เพื่อแผ่นดิน อำนาจ วงค์หนองหว้า (15) 3,188 1.30
ชาติไทย กฤชชัย ศรีสว่าง (4) 3,163 1.29
รวมใจไทยชาติพัฒนา ร้อยเอก วรชิต สระมูล (9) 2,979 1.22
ความหวังใหม่ สำลี จันทะคัด (3) 2,484 1.01
ชาติไทย อุดม เหล่ายนขาม (6) 2,379 0.97
รวมใจไทยชาติพัฒนา จิรายุ สังฆะมณี (7) 1,739 0.71
ประชาราช เสริมสุข วรวัฒน์ (11) 1,683 0.69
ความหวังใหม่ คนัมพร พระเอก (2) 1,467 0.60
ประชาราช ปิยวัฒน์ ชาญวรวุฒิ (10) 1,357 0.55
รวมใจไทยชาติพัฒนา ตระกูล อรรถวิเศษ (8) 951 0.39
สยามสันติ ประณต เสริฐวิชา (34)✔ 936 0.38
ไทยร่ำรวย สมาน อุทิตะสาร (29) 930 0.38
ประชากรไทย ทวี ศิลารัตน์ (39) 928 0.38
ไทเป็นไท ว่าที่พันตรี สุดใจ จันทะบุรม (31) 865 0.35
ไทเป็นไท พล จ้อยนุแสง (33) 675 0.28
ประชามติ จ่าสิบตรี กู้เกียรติประจิต อรุณดี (25) 605 0.25
ประชามติ ยศพงศ์ พิมพ์ดี (27) 422 0.17
ไทเป็นไท สุปิยา ปัตถามัง (32) 403 0.16
ประชามติ วีรชน บุญพิคำ (26) 398 0.16
ไทยร่ำรวย ศุรโชค จันทรประทักษ์ (30) 394 0.16
ประชากรไทย ไพโรจน์ ฉายะโคตร (38) 326 0.13
สยามสันติ บุญนาค จุลวงษ์ (35) 318 0.13
ไทยร่ำรวย จันดา ถนอมลาภ (28) 300 0.12
สยามสันติ เวชยันต์ ชมภูบุตร (36) 245 0.10
ประชากรไทย เสนีย์ ลุผล (37) 89 0.04
บัตรดี 245,086 96.44
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 5,888 2.32
บัตรเสีย 3,160 1.24
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 254,134 70.38
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 361,100 100.00
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบไปด้วยอำเภอพนมไพร อำเภอเกษตรวิสัย อำเภอสุวรรณภูมิ อำเภอจตุรพักตรพิมาน อำเภอปทุมรัตต์ อำเภอเมืองสรวง อำเภอโพนทราย และอำเภอหนองฮี

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดร้อยเอ็ด
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชาชน นิสิต สินธุไพร (5)* 146,263 62.90
พลังประชาชน ศักดา คงเพชร (4)* 145,522 62.58
พลังประชาชน กิตติ สมทรัพย์ (6)* 140,000 60.20
รวมใจไทยชาติพัฒนา วิรัช ประราศรี (9) 46,960 20.19
เพื่อแผ่นดิน เวียง วรเชษฐ์ (13)✔ 32,988 14.19
ชาติไทย ชัชวาลย์ ชมภูแดง (1)✔ 18,590 7.99
เพื่อแผ่นดิน ธีรพงษ์ พานทอง (14) 13,123 5.64
มัชฌิมาธิปไตย บุญน้อม พรมนิกร (12) 11,655 5.01
มัชฌิมาธิปไตย เกษม มาลัยศรี (10)✔ 11,147 4.79
เพื่อแผ่นดิน ประเสริฐ วรกาญจนบุญ (15) 8,297 3.57
ชาติไทย สรรเสริญ ชมภูแดง (3) 4,857 2.09
ประชาธิปัตย์ สมบัติ ขันโมลี (19) 4,257 1.83
ชาติไทย ณัฐพล สุทธิสนธิ์ (2) 4,113 1.77
ประชาธิปัตย์ จินดา แสงโสภา (21) 3,054 1.31
ประชาธิปัตย์ ไพบูลย์ พัฒนสระคู (20) 2,762 1.19
มัชฌิมาธิปไตย กฤษณะ แสนสำโรง (11) 2,542 1.09
ประชากรไทย พันตำรวจโท ศุภวิทย์ สูติสงค์ (18) 2,428 1.04
รวมใจไทยชาติพัฒนา อุทารธรรม ออมอด (7) 2,347 1.01
ประชากรไทย อัญชลี พิมาน (17) 1,769 0.76
ความหวังใหม่ สุนิดษา เวฎสุวัณ (22) 1,584 0.68
รวมใจไทยชาติพัฒนา ใจเพชร สอนโกษา (8) 1,316 0.57
ประชากรไทย ธนพล เรืองเกษตรวิสัย (16) 1,273 0.55
สยามสันติ สวาสดิ์ นาคศรี (36) 1,012 0.44
ความหวังใหม่ สุนทร พลยาง (24) 865 0.37
พลังแผ่นดิน สายันตชัย อินสอนอัคครกุล (25) 720 0.31
ความหวังใหม่ เชิดชัย มูลมณี (23) 692 0.30
พลังแผ่นดิน พชร พายุหะ (27) 510 0.22
ไทยร่ำรวย สาคร อ่อนสีแดง (33) 443 0.19
สยามสันติ พนม แสงวาโท (34) 428 0.18
ประชามติ พันตำรวจโท อุโฆษ จะโนรัตน์ (30) 402 0.17
ไทยร่ำรวย สรรเสริญ เวียงนนท์ (31) 392 0.17
ไทยร่ำรวย วิชิตพงษ์ สีสมนา (32) 388 0.17
ประชามติ รัศมี ทิณรัตน์ (29) 301 0.13
พลังแผ่นดิน ธีรยุทธ ระโยธี (26) 280 0.12
สยามสันติ เศรษฐพงศ์ วจนสุขไพศาล (35) 133 0.06
บัตรดี 232,549 96.66
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 4,649 1.93
บัตรเสีย 3,391 1.41
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 240,589 67.40
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 356,932 100.00
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย

เขตเลือกตั้งที่ 3

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบไปด้วยอำเภอโพนทอง อำเภอเสลภูมิ อำเภอหนองพอก และอำเภอเมยวดี

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดร้อยเอ็ด
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อแผ่นดิน นพดล พลซื่อ (7) 62,281 43.76
พลังประชาชน นิรมิต สุจารี (6) 49,660 34.89
เพื่อแผ่นดิน กิตติพงศ์ พรหมชัยนันท์ (8) 40,326 28.34
พลังประชาชน นิรันดร์ นาเมืองรักษ์ (5)* 34,145 23.99
รวมใจไทยชาติพัฒนา สุรพร ดนัยตั้งตระกูล (1)✔ 30,408 21.37
ชาติไทย กิติศักดิ์ เลิศศิริรังสรรค์ (13) 17,259 12.13
รวมใจไทยชาติพัฒนา อรรณพ เพียรชนะ (2) 11,546 8.11
มัชฌิมาธิปไตย วาสินีพร พลเยี่ยม (9) 3,222 2.26
ประชาธิปัตย์ เอกประดิษฐ์ ประกอบสาย (4) 2,991 2.10
ประชาธิปัตย์ จ่าสิบตรี สืบพงษ์ พนมเขต (3) 1,272 0.89
มัชฌิมาธิปไตย ชัยยศ ทะไกรราช (10) 923 0.65
ความหวังใหม่ เยี่ยมพล พลเยี่ยม (17)✔ 923 0.65
ประชาราช ว่าที่ร้อยตรี ร่วมภูมิศักดิ์ พลเยี่ยม (11) 745 0.52
ความหวังใหม่ รุ่งโรจน์ มาศฉมาดล (18) 360 0.25
ประชากรไทย มีเดช น้ำบุน (16) 357 0.25
ไทเป็นไท เทวกูล แก้วอรุณ (20) 354 0.25
ประชากรไทย สุภาพ ชินคำนนท์ (15) 338 0.24
ไทยร่ำรวย อุทัยวรรณ โสมณวัฒน์ (21) 322 0.23
ไทยร่ำรวย คำนึง พันธัง (22) 302 0.21
ไทเป็นไท วินัย นามนาเมือง (19) 282 0.20
นำวิถี โกศล แวงวรรณ (26) 275 0.19
ชาติไทย จำรอง พละสุ (14) 249 0.17
สยามสันติ ยงยุทธ ขัติยนนท์ (23) 239 0.17
นำวิถี เบญจศิล ธรรมโท (25) 44 0.03
สยามสันติ ร้อยเอก คำภู อุดมพร (24) 40 0.03
บัตรดี 142,315 94.75
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,879 1.92
บัตรเสีย 4,998 3.33
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 150,192 66.06
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 227,341 100.00
เพื่อแผ่นดิน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูลสถิติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2550". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-06-06. สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]