ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดเลยในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดเลยในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

← พ.ศ. 2549 (โมฆะ) 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2554 →

4 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ75.16%
  First party Second party
 
พรรค พลังประชาชน ประชาธิปัตย์
ที่นั่งก่อนหน้า 0 0
ที่นั่งที่ชนะ 4 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น4 Steady0
คะแนนเสียง 163,430 85,785
% 53.02 27.83

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

สุรยุทธ์ จุลานนท์
อิสระ (คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ)

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

สมัคร สุนทรเวช
พลังประชาชน

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเลย พ.ศ. 2550 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง[1] มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 4 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2549 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 2 คน

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบสัดส่วน (รวมทั้งจังหวัดเลย)

[แก้]
พรรค คะแนนเสียง
จน. % +/–
พลังประชาชน 163,430 53.02% ลดลง20.28%
ประชาธิปัตย์ 85,785 27.83% เพิ่มขึ้น17.41%
อื่น ๆ 59,009 19.15% เพิ่มขึ้น2.87%
ผลรวม 308,224 100.00%
  • คะแนนเลือกตั้งแบบสัดส่วนเปรียบเทียบจากผลคะแนนเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อเมื่อปี พ.ศ. 2548
  • คะแนนเลือกตั้งแบบสัดส่วนพรรคพลังประชาชนเปรียบเทียบจากผลรวมคะแนนเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อของพรรคพลังประชาชน (เดิม) และพรรคไทยรักไทย
คะแนนเสียง
พลังประชาชน
  
53.02%
ประชาธิปัตย์
  
27.83%
อื่น ๆ
  
19.15%

ผลการเลือกตั้งแบบสัดส่วน (รายเขตเลือกตั้ง)

[แก้]
เขตการเลือกตั้ง พลังประชาชน ประชาธิปัตย์ อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง ส.ส.แบ่งเขต
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 75,755 46.71% 53,188 32.80% 33,233 20.49% 162,176 100.00% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
เขต 2 87,675 60.03% 32,597 22.32% 25,776 17.65% 146,048 100.00% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
ผลรวม 163,430 53.02% 85,785 27.83% 59,009 19.15% 308,224 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งจังหวัดเลย)

[แก้]
พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
ที่นั่ง
จน. +/– %
พลังประชาชน 4 4 เพิ่มขึ้น4 100.00%
ประชาธิปัตย์ 4 0 Steady0 0.00%
ไทยรักไทย ลดลง4 0.00%
อื่น ๆ 38 0 Steady 0.00%
ผลรวม 46 4 Steady 100.00%
ที่นั่ง
พลังประชาชน
  
100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง)

[แก้]
เขตการเลือกตั้ง ลำดับ คะแนนที่ได้รับ ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง %
เขต 1 1 72,177 43.26% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
2 64,863 38.88% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
เขต 2 1 91,786 61.54% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
2 75,148 50.39% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง

ผลการเลือกตั้งแบบสัดส่วน

[แก้]

คะแนนรวมทั้งหมดในกลุ่มจังหวัดที่ 3

[แก้]

กลุ่มจังหวัดที่ 3 ประกอบไปด้วยจังหวัดหนองคาย จังหวัดอุดรธานี จังหวัดเลย จังหวัดนครพนม จังหวัดสกลนคร จังหวัดหนองบัวลำภู จังหวัดกาฬสินธุ์ จังหวัดมุกดาหาร จังหวัดมหาสารคาม และจังหวัดอำนาจเจริญ จำนวน 10 จังหวัด

 •  ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน กลุ่มจังหวัดที่ 3
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อแผ่นดิน (1) 340,507 9.39
รวมใจไทยชาติพัฒนา (2) 87,081 2.40
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (3)
ประชาธิปัตย์ (4) 525,934 14.50
พลังเกษตรกร (5)
รักเมืองไทย (6)
แรงงาน (7)
เกษตรกรไทย (8) 35,670 0.98
ประชาราช (9) 52,310 1.44
นิติศาสตร์ไทย (10)
พัฒนาประชาธิปไตย (11)
พลังประชาชน (12) 2,398,849 66.16
ชาติไทย (13) 50,827 1.40
ดำรงไทย (14)
มัชฌิมาธิปไตย (15) 40,965 1.13
ชาติสามัคคี (16) 6,961 0.19
ความหวังใหม่ (17) 31,776 0.88
ประชากรไทย (18)
ประชามติ (19) 19,922 0.55
ไทเป็นไท (20) 25,873 0.71
พลังแผ่นดินไท (21)
มหาชน (22)
คุณธรรม (23)
ราษฎรรักไทย (24)
กฤษไทยมั่นคง (25)
อยู่ดีมีสุข (26)
ไทยร่ำรวย (27) 9,305 0.26
เอกราช (28)
พลังแผ่นดิน (29)
สังคมธิปไตย (30)
นำวิถี (31)
บัตรดี 3,625,980 92.66
บัตรเสีย 205,499 5.25
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 81,877 2.09
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 3,913,357 71.10
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 5,504,061 100.00

ผู้สมัครที่ได้รับการเลือกตั้งในกลุ่มจังหวัดที่ 3

[แก้]

แต่ละกลุ่มจังหวัดมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกลุ่มละ 10 คน สำหรับกลุ่มจังหวัดที่ 3 แบ่งออกเป็นตามสัดส่วนคะแนนดังนี้

พรรคการเมือง รายชื่อผู้สมัคร
พรรคพลังประชาชน ศรีเมือง เจริญศิริ
ชวลิต วิชยสุทธิ์
สุขุมพงศ์ โง่นคำ
ธนเทพ ทิมสุวรรณ
กิตติศักดิ์ หัตถสงเคราะห์
เทวฤทธิ์ นิกรเทศ
วีระ รักความสุข
พรรคประชาธิปัตย์ สุทัศน์ เงินหมื่น
รัชฎาภรณ์ แก้วสนิท
พรรคเพื่อแผ่นดิน พลตำรวจเอก ประชา พรหมนอก

คะแนนรวมเฉพาะจังหวัดเลย

[แก้]
 •  ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน จังหวัดเลย
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อแผ่นดิน (1) 25,859 8.39
รวมใจไทยชาติพัฒนา (2) 5,535 1.80
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (3)
ประชาธิปัตย์ (4) 85,785 27.83
พลังเกษตรกร (5)
รักเมืองไทย (6)
แรงงาน (7)
เกษตรกรไทย (8) 4,316 1.40
ประชาราช (9) 9,159 2.97
นิติศาสตร์ไทย (10)
พัฒนาประชาธิปไตย (11)
พลังประชาชน (12) 163,430 53.02
ชาติไทย (13) 3,409 1.11
ดำรงไทย (14)
มัชฌิมาธิปไตย (15) 4,572 1.48
ชาติสามัคคี (16) 402 0.13
ความหวังใหม่ (17) 1,788 0.58
ประชากรไทย (18)
ประชามติ (19) 1,355 0.44
ไทเป็นไท (20) 1,764 0.57
พลังแผ่นดินไท (21)
มหาชน (22)
คุณธรรม (23)
ราษฎรรักไทย (24)
กฤษไทยมั่นคง (25)
อยู่ดีมีสุข (26)
ไทยร่ำรวย (27) 850 0.28
เอกราช (28)
พลังแผ่นดิน (29)
สังคมธิปไตย (30)
นำวิถี (31)
บัตรดี 308,224 91.07
บัตรเสีย 21,897 6.47
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 8,312 2.46
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 338,433 75.16
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 450,300 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบไปด้วยอำเภอเมืองเลย อำเภอเชียงคาน อำเภอท่าลี่ อำเภอภูเรือ อำเภอด่านซ้าย อำเภอนาแห้ว และอำเภอภูหลวง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดเลย
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชาชน ปรีชา เร่งสมบูรณ์สุข (1)* 72,177 43.26
พลังประชาชน พัฒนา สังขทรัพย์ (2) 64,863 38.88
เพื่อแผ่นดิน จันทร์เพ็ญ แสงเจริญรัตน์ (5)* 52,313 31.36
ประชาธิปัตย์ อาวุธ อมรทวีสิน (9) 24,532 14.71
ประชาธิปัตย์ ยลชาญ กมลรัตน์ (10) 20,510 12.29
ชาติไทย อดุลย์เดช ติยะบุตร (7) 17,397 10.43
เพื่อแผ่นดิน ชาญชัย แตรประสิทธิ์ (6) 14,311 8.58
ความหวังใหม่ นาวิน วังคีรี (4) 8,493 5.09
มัชฌิมาธิปไตย สุวิชญ์ โยทองยศ (15)✔ 8,247 4.94
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย มะลิวัลย์ โพธิเศษ (12) 5,561 3.33
ชาติไทย ทศพล พรหมเกตุ (8) 5,010 3.00
ความหวังใหม่ วัชรินทร์ วังคีรี (3) 1,898 1.14
มัชฌิมาธิปไตย ประยงค์ ไชยศรี (16) 1,810 1.09
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย อนุสรา ศรีลา (11) 1,320 0.79
ไทเป็นไท จ่าสิบเอก ณัฐศักดิ์ ดิษเจริญ (19) 808 0.48
พลังเกษตรกร นิพนธ์ ตันคำฮอง (17) 628 0.38
ไทเป็นไท เสกสรรค์ คำนุชิต (20) 609 0.37
ประชามติ พวนชัย โคตรชนะ (13) 587 0.35
ประชามติ ธันยพร แสงมณี (14) 502 0.30
พลังเกษตรกร สมพณ เพชรดี (18) 481 0.29
ไทยร่ำรวย วรวุฒิ หล้าทุม (23) 439 0.26
สยามสันติ ธณน นิยะโมสถ (21) 338 0.20
ไทยร่ำรวย พูลเพชร บัวเปลือย (24) 299 0.18
สยามสันติ ภูวดล เทพวันดี (22) 205 0.12
บัตรดี 166,828 92.94
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 8,029 4.47
บัตรเสีย 4,643 2.59
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 179,500 76.69
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 234,046 100.00
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบไปด้วยอำเภอวังสะพุง อำเภอปากชม อำเภอภูกระดึง อำเภอนาด้วง อำเภอผาขาว อำเภอเอราวัณ และอำเภอหนองหิน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดเลย
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชาชน นันทนา ทิมสุวรรณ (9)* 91,786 61.54
พลังประชาชน เปล่งมณี เร่งสมบูรณ์สุข (10) 75,148 50.39
มัชฌิมาธิปไตย พินิจ สิทธิโห (7)✔ 22,752 15.26
เพื่อแผ่นดิน นรีรัตน์ แสงเจริญรัตน์ (1) 21,490 14.41
ประชาธิปัตย์ วิวัฒน์ พรมศรี (4) 15,555 10.43
ประชาธิปัตย์ ไพบูลย์ หล้าภูเขียว (3) 12,106 8.12
ประชามติ รักตกันท์ สีลา (12) 6,544 4.39
มัชฌิมาธิปไตย บุญเศรษฐ์ มานะดี (8) 6,378 4.28
เพื่อแผ่นดิน อัจฉริยะ งามกระบวน (2) 4,791 3.21
ประชาราช อภิระมณี พรโชคฤดี (5) 4,105 2.75
ประชามติ ผกาวดี เบ้ามงคล (11) 1,578 1.06
ประชาราช แก้วกล้า ทาสาลี (6) 1,450 0.97
ชาติไทย ยุทธ บุญเกษ (15) 1,401 0.94
พลังเกษตรกร มุกดา วรศักดิ์ (19) 640 0.43
ความหวังใหม่ ดัมพ์รงค์ฤทธิ์ พันสนิท (13) 578 0.39
ชาติไทย โพธิ์ศรี ขานน้ำคำ (16) 541 0.36
ความหวังใหม่ ธนกฤต อันทะระ (14) 503 0.34
พลังเกษตรกร พรประเสริฐ เลขะพันธ์รัตน์ (20) 466 0.31
ไทเป็นไท ดำรง โยทะคง (17) 443 0.30
ไทเป็นไท ทองหล่อ ดาศรี (18) 422 0.28
ไทยร่ำรวย ธนวัฒน์ จันดาสาตร์ (22) 317 0.21
ไทยร่ำรวย ทวีวัฒน์ แน่นอุดร (21) 311 0.21
บัตรดี 149,146 93.84
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 5,221 3.29
บัตรเสีย 4,566 2.87
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 158,933 73.49
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 216,254 100.00
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูลสถิติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2550". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-06-06. สืบค้นเมื่อ 13 December 2019.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]