ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดชลบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดชลบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526

← พ.ศ. 2522 18 เมษายน พ.ศ. 2526 พ.ศ. 2529 →

5 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน401,308
ผู้ใช้สิทธิ38.50%
  First party Second party Third party
 
ผู้นำ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ อุทัย พิมพ์ใจชน
พรรค กิจสังคม ชาติประชาธิปไตย ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526)
ที่นั่งก่อนหน้า 4 พรรคใหม่ พรรคใหม่
ที่นั่งที่ชนะ 3 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1 เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น1

  Fourth party
 
ผู้นำ พล เริงประเสริฐวิทย์
พรรค สยามประชาธิปไตย
ที่นั่งก่อนหน้า 1
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี พ.ศ. 2526 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2526 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 5 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2522 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 2)[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองชลบุรี, อำเภอพานทอง, อำเภอพนัสนิคม, อำเภอบ้านบึง, อำเภอหนองใหญ่ และกิ่งอำเภอบ่อทอง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดชลบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติประชาธิปไตย ประโยชน์ เนื่องจำนงค์ (1)* 51,236
กิจสังคม ดรงค์ สิงห์โตทอง (8)* 45,650
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) อุทัย พิมพ์ใจชน (6)✔ 43,055
ชาติประชาธิปไตย บุญเลิศ ฟองสมุทร (4) 36,286
กิจสังคม โกวิท ศรีสวัสดิ์ (7)* 31,498
ชาติไทย วีระ ลิมปะพันธุ์ (5) 7,294
ประชากรไทย ชมพู กาญจนนาค (11) 5,661
ประชากรไทย อุทัย นัยวัฒน์ (9) 5,369
ประชากรไทย ถนอม บุญบุตร (10) 4,521
ไม่สังกัดพรรค สุวรรณ วิสุทธิชัย (2) 2,345
ไม่สังกัดพรรค ประเสริฐ อนันตศิลป์ (3)
ไม่สังกัดพรรค สลับ วิสุทธิมรรค (12)
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ชาติประชาธิปไตย ได้ที่นั่งจาก สยามประชาธิปไตย
กิจสังคม รักษาที่นั่ง
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอศรีราชา, อำเภอบางละมุง, อำเภอสัตหีบ และกิ่งอำเภอเกาะสีชัง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดชลบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจสังคม นิคม แสนเจริญ (4) 29,951
กิจสังคม จรูญ งามพิเชษฐ์ (5) 21,191
ประชากรไทย ใจศักดิ์ สารทพันธ์ (3) 10,461
ประชากรไทย พันจ่าเอก ประยูร วงศ์นครสว่าง (2) 8,988
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) จินดา ติยวัฒน์ (7) 8,770
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ธงชัย พิมพ์สกุล (6) 6,931
ชาติประชาธิปไตย ประสงค์ เนื่องจำนงค์ (10)✔ 2,615
ประชาธิปัตย์ สะอาด ศรัทธาบุญ (1) 2,605
ไม่สังกัดพรรค วชิระ เปล่งปลั่ง (8) 724
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) วิทชัย สุทธินันท์ (9) 630
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจสังคม รักษาที่นั่ง
กิจสังคม รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2526. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2526