ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดอ่างทองในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดอ่างทองในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544

← พ.ศ. 2539 6 มกราคม พ.ศ. 2544 พ.ศ. 2548 →

2 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ79.48%
  First party Second party
 
Banharn Silpa-archa (cropped).jpg
Thaksin DOD 20050915.jpg
พรรค ชาติไทย ไทยรักไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 2 พรรคใหม่
ที่นั่งที่ชนะ 2 0
ที่นั่งเปลี่ยน Steady Steady
คะแนนเสียง 54,253 47,309
% 38.01 33.15

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

ชวน หลีกภัย
ประชาธิปัตย์

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ทักษิณ ชินวัตร
ไทยรักไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอ่างทอง พ.ศ. 2544 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2544 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง[1] จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2539 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปครั้งแรกภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ที่มีการใช้การเลือกตั้งรูปใหม่ ทั้งการเปลี่ยนแปลงเขตเลือกตั้งจากเขตใหญ่เรียงหมายเลขเป็นเขตเดียวหมายเลขเดียว และเพิ่มเติมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อเป็นครั้งแรก

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รวมทั้งจังหวัดอ่างทอง)

[แก้]
พรรค คะแนนเสียง
จน. % +/–
ชาติไทย 54,253 38.01%
ไทยรักไทย 47,309 33.15%
อื่น ๆ 41,166 28.84%
ผลรวม 142,728 100.00%
คะแนนเสียง
ชาติไทย
  
38.01%
ไทยรักไทย
  
33.15%
อื่น ๆ
  
28.84%

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รายเขตเลือกตั้ง)

[แก้]
เขตการเลือกตั้ง ชาติไทย ไทยรักไทย อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง ส.ส.แบ่งเขต
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 20,681 28.93% 21,840 30.55% 28,977 40.52% 71,498 100.00% ชาติไทย รักษาที่นั่ง
เขต 2 33,572 47.13% 25,469 35.76% 12,189 17.11% 71,230 100.00% ชาติไทย รักษาที่นั่ง
ผลรวม 54,253 38.01% 47,309 33.15% 41,166 28.84% 142,728 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งจังหวัดอ่างทอง)

[แก้]
พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
คะแนนเสียง ที่นั่ง
จน. % จน. +/– %
ชาติไทย 2 74,831 57.31% 2 Steady 100.00%
ไทยรักไทย 2 26,624 20.39% 0 Steady 0.00%
อื่น ๆ 9 29,117 22.30% 0 Steady 0.00%
ผลรวม 13 130,572 100.00% 2 Steady 100.00%
คะแนนเสียง
ชาติไทย
  
57.31%
ไทยรักไทย
  
20.39%
อื่น ๆ
  
22.30%
ที่นั่ง
ชาติไทย
  
100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง)

[แก้]
เขตการเลือกตั้ง ชาติไทย ไทยรักไทย อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง ส.ส.แบ่งเขต
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 31,065 47.83% 6,393 9.84% 27,485 42.33% 64,943 100.00% ชาติไทย รักษาที่นั่ง
เขต 2 43,766 66.69% 20,231 30.83% 1,632 2.48% 65,629 100.00% ชาติไทย รักษาที่นั่ง
ผลรวม 74,831 57.31% 26,624 20.39% 29,117 22.30% 130,572 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ

[แก้]
 •  ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จังหวัดอ่างทอง
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เสรีประชาธิปไตย (1) 593 0.42
ชาวไทย (2) 395 0.28
กสิกรไทย (3) 228 0.16
นิติมหาชน (4) 335 0.23
ความหวังใหม่ (5) 2,489 1.74
รักสามัคคี (6) 753 0.53
ไทยรักไทย (7) 47,309 33.15
ชาติประชาธิปไตย (8) 2,035 1.43
ชาติไทย (9) 54,253 38.01
สันติภาพ (10) 197 0.14
ถิ่นไทย (11) 2,770 1.94
พลังประชาชน (12) 209 0.15
ราษฎร (13) 219 0.15
สังคมใหม่ (14) 142 0.10
เสรีธรรม (15) 292 0.20
ประชาธิปัตย์ (16) 19,221 13.47
อำนาจประชาชน (17) 311 0.22
ประชากรไทย (18) 2,364 1.66
ไท (19) 632 0.44
ก้าวหน้า (20) 80 0.06
ชาติพัฒนา (21) 3,160 2.21
แรงงานไทย (22) 197 0.14
เผ่าไท (23) 73 0.05
สังคมประชาธิปไตย (24) 125 0.09
ชีวิตที่ดีกว่า (25) 85 0.06
พัฒนาสังคม (26) 100 0.07
ไทยช่วยไทย (27) 635 0.44
ไทยมหารัฐ (28) 155 0.11
ศรัทธาประชาชน (29) 653 0.46
วิถีไทย (30) 55 0.04
ไทยประชาธิปไตย (31) 1,192 0.84
พลังธรรม (32) 304 0.21
ชาวนาพัฒนาประเทศ (33) 183 0.13
กิจสังคม (34) 147 0.10
เกษตรมหาชน (35) 285 0.20
พลังเกษตรกร (36) 220 0.15
สยาม (37) 332 0.23
บัตรดี 142,728 95.41
บัตรเสีย 2,886 1.93
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,973 2.66
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 149,587 70.58
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 211,933 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขต 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วย อำเภอเมืองอ่างทอง และอำเภอวิเศษชัยชาญ (ยกเว้นตำบลม่วงเตี้ย)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดอ่างทอง
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทย พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์ (9)* 31,065 47.83
ประชาธิปัตย์ อุดม ฤกษ์วรารักษ์ (16) 18,305 28.19
ไทยรักไทย กัลยา โถรัตน์ (9) 6,393 9.84
ความหวังใหม่ ชวลิต วิเศษสิทธิกุล (5)✔ 3,334 5.13
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) สำรวย ฉิมฉวี (21) 3,289 5.06
ประชากรไทย ธนกรณ์ เวสานุชาติ (18) 1,418 2.18
ถิ่นไทย ปราโมทย์ พัมนมงคล (11) 946 1.46
เกษตรมหาชน จ่าสิบตำรวจ ปรีชา เพิ่มสุข (35) 193 0.30
ผลรวม 64,943 100.00
บัตรดี 64,943 86.28
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,418 4.54
บัตรเสีย 6,912 9.18
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 75,273 69.48
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 108,343 100.00
ชาติไทย รักษาที่นั่ง

เขต 2

[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วย อำเภอโพธิ์ทอง, อำเภอแสวงหา, อำเภอไชโย, อำเภอสามโก้ และอำเภอวิเศษชัยชาญ (ยกเว้นตำบลม่วงเตี้ย)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดอ่างทอง
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทย สมศักดิ์ ปริศนานันทกุล (9)* 43,766 66.69
ไทยรักไทย พลตำรวจตรี วินัย เปาอินทร์ (7) 20,231 30.83
ความหวังใหม่ ธีรเทพ ทองสถิตย์ (5) 924 1.41
ประชากรไทย แดน เวลาดี (18) 484 0.74
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) รัฐ เนติวรรณ (21) 225 0.34
ผลรวม 65,629 100.00
บัตรดี 65,629 88.32
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,549 2.08
บัตรเสีย 7,136 9.60
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 74,314 71.74
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 103,590 100.00
ชาติไทย รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูล สถิติ และผลการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2544" (PDF). คลังสารสนเทศของสถาบันนิติบัญญัติ. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-06-04. สืบค้นเมื่อ 27 พฤษภาคม 2563. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)