ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดลำพูนในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดลำพูนในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544

← พ.ศ. 2539 6 มกราคม พ.ศ. 2544 พ.ศ. 2548 →

3 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ83.78%
  First party Second party Third party
 
พรรค ไทยรักไทย ประชาธิปัตย์ ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
ที่นั่งก่อนหน้า พรรคใหม่ 0 1
ที่นั่งที่ชนะ 2 1 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น2 เพิ่มขึ้น1 ลดลง1
คะแนนเสียง 120,910 86,097 11,637
% 48.83 34.77 4.70

  Fourth party
 
พรรค ความหวังใหม่
ที่นั่งก่อนหน้า 2
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง2
คะแนนเสียง 2,882
% 1.16

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

ชวน หลีกภัย
ประชาธิปัตย์

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ทักษิณ ชินวัตร
ไทยรักไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำพูน พ.ศ. 2544 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2544 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง[1] จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2539 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปครั้งแรกภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ที่มีการใช้การเลือกตั้งรูปใหม่ ทั้งการเปลี่ยนแปลงเขตเลือกตั้งจากเขตใหญ่เรียงหมายเลขเป็นเขตเดียวหมายเลขเดียว และเพิ่มเติมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อเป็นครั้งแรก

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รวมทั้งจังหวัดลำพูน)

[แก้]
พรรค คะแนนเสียง
จน. %
ไทยรักไทย 120,910 48.83%
ประชาธิปัตย์ 86,097 34.77%
ชาติพัฒนา 11,637 4.70%
ความหวังใหม่ 2,882 1.16%
อื่น ๆ 26,077 10.53%
ผลรวม 247,603 100.00%
คะแนนเสียง
ไทยรักไทย
  
48.83%
ประชาธิปัตย์
  
34.77%
ชาติพัฒนา
  
4.70%
ความหวังใหม่
  
1.16%
อื่น ๆ
  
10.53%

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รายเขตเลือกตั้ง)

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งจังหวัดลำพูน)

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง)

[แก้]

การเปลี่ยนแปลงเขตการเลือกตั้ง

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ

[แก้]
 •  ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จังหวัดลำพูน
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เสรีประชาธิปไตย (1) 927 0.37
ชาวไทย (2) 349 0.14
กสิกรไทย (3) 375 0.15
นิติมหาชน (4) 829 0.34
ความหวังใหม่ (5) 2,882 1.16
รักสามัคคี (6) 1,227 0.50
ไทยรักไทย (7) 120,910 48.83
ชาติประชาธิปไตย (8) 1,274 0.52
ชาติไทย (9) 1,141 0.46
สันติภาพ (10) 184 0.07
ถิ่นไทย (11) 3,039 1.23
พลังประชาชน (12) 664 0.27
ราษฎร (13) 937 0.38
สังคมใหม่ (14) 536 0.22
เสรีธรรม (15) 1,068 0.43
ประชาธิปัตย์ (16) 86,097 34.77
อำนาจประชาชน (17) 2,075 0.84
ประชากรไทย (18) 701 0.28
ไท (19) 784 0.32
ก้าวหน้า (20) 460 0.19
ชาติพัฒนา (21) 11,637 4.70
แรงงานไทย (22) 339 0.14
เผ่าไท (23) 234 0.10
สังคมประชาธิปไตย (24) 453 0.18
ชีวิตที่ดีกว่า (25) 370 0.15
พัฒนาสังคม (26) 1,000 0.40
ไทยช่วยไทย (27) 1,176 0.48
ไทยมหารัฐ (28) 321 0.13
ศรัทธาประชาชน (29) 111 0.05
วิถีไทย (30) 108 0.04
ไทยประชาธิปไตย (31) 1,785 0.72
พลังธรรม (32) 647 0.26
ชาวนาพัฒนาประเทศ (33) 370 0.15
กิจสังคม (34) 464 0.19
เกษตรมหาชน (35) 385 0.16
พลังเกษตรกร (36) 919 0.37
สยาม (37) 825 0.33
บัตรดี 247,603 96.53
บัตรเสีย 5,774 2.25
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,136 1.22
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 256,513 83.78
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 306,187 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภอเมืองลำพูน (ยกเว้นตำบลมะเขือแจ้)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดลำพูน
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย อาภาภรณ์ พุทธปวน (7) 32,402 45.55
ประชาธิปัตย์ สมาน ชมภูเทพ (16)✔ 25,374 35.67
ความหวังใหม่ มนตรี ด่านไพบูลย์ (5)* 6,843 9.62
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) อรทัย ออประยูร (21) 4,763 6.70
ชาติไทย ประเทือง ปานลักษณ์ (9)✔ 1,098 1.54
อำนาจประชาชน กิตติชนก สมบัติศิริ (17) 469 0.66
ประชากรไทย ปรีชา กุณามา (18) 194 0.27
ผลรวม 71,143 100.00
บัตรดี 71,143 90.40
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,047 2.60
บัตรเสีย 5,505 7.00
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 78,695 83.95
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 93,737 100.00
ไทยรักไทย ได้ที่นั่งจาก ความหวังใหม่

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภอบ้านธิ อำเภอป่าซาง อำเภอแม่ทา และอำเภอเมืองลำพูน (เฉพาะตำบลมะเขือแจ้)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดลำพูน
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย สงวน พงษ์มณี (7) 31,796 43.66
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) อนุสรณ์ วงศ์วรรณ (21)* 23,366 32.09
ประชาธิปัตย์ สัมพันธ์ รัตนบุรี (16) 15,186 20.85
ถิ่นไทย นงนุช วงศ์สุ (11) 1,419 1.95
ชาติไทย บวร เมืองสุวรรณ (9) 857 1.18
ไทยมหารัฐ จุไรรัตน์ อุครานันท์ (28) 196 0.27
ผลรวม 72,820 100.00
บัตรดี 72,820 84.72
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,675 3.11
บัตรเสีย 10,459 12.17
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 85,954 84.11
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 102,193 100.00
ไทยรักไทย ได้ที่นั่งจาก ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)

เขตเลือกตั้งที่ 3

[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภอลี้ อำเภอทุ่งหัวช้าง อำเภอบ้านโฮ่ง และกิ่งอำเภอเวียงหนองล่อง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดลำพูน
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ทรงชัย วงศ์สวัสดิ์ (16) 32,964 42.99
ไทยรักไทย วิรุณ คำภิโล (7) 31,730 41.38
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) สุพจน์ ปัญโญนันท์ (21) 5,863 7.65
ความหวังใหม่ ธัญ การวัฒนาศิริกุล (5)* 3,020 3.94
ราษฎร ศรีกาย วงศ์รักษ์ (13) 2,174 2.84
ชาติไทย วัลลา บุณยานันท์ (9) 931 1.21
ผลรวม 76,682 100.00
บัตรดี 76,682 83.48
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,864 2.03
บัตรเสีย 13,309 14.49
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 91,864 83.32
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 110,257 100.00
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ความหวังใหม่

อ้างอิง

[แก้]
  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูล สถิติ และผลการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2544" (PDF). คลังสารสนเทศของสถาบันนิติบัญญัติ. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-06-04. สืบค้นเมื่อ 27 พฤษภาคม 2563. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)