ข้ามไปเนื้อหา

ท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน

พิกัด: 37°27′48″N 126°26′24″E / 37.46333°N 126.44000°E / 37.46333; 126.44000
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Incheon International Airport)
ท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน

인천국제공항
ข้อมูลสำคัญ
การใช้งานสาธารณะ
เจ้าของกระทรวงที่ดิน โครงสร้างพื้นฐาน และการขนส่ง
ผู้ดำเนินงานบริษัทท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน
พื้นที่บริการอินช็อนและปริมณฑล
ที่ตั้งอินช็อน เกาหลีใต้
เปิดใช้งาน29 มีนาคม 2001; 23 ปีก่อน (2001-03-29)[1]
ฐานการบิน
เหนือระดับน้ำทะเล23 ฟุต / 7 เมตร
พิกัด37°27′48″N 126°26′24″E / 37.46333°N 126.44000°E / 37.46333; 126.44000
เว็บไซต์www.airport.kr
แผนที่
แผนที่
ทางวิ่ง
ทิศทาง ความยาว พื้นผิว
ฟุต เมตร
15R/33L 12,303 3,750 แอสฟัลต์
15L/33R 12,303 3,750 แอสฟัลต์
16L/34R 13,123 4,000 แอสฟัลต์
16R/34L 12,303 3,750 แอสฟัลต์
ลานจอดเฮลิคอปเตอร์
เลข ความยาว พื้นผิว
ฟุต เมตร
H1 63 19 คอนกรีต
สถิติ (2023)
จำนวนเที่ยวบินเพิ่มขึ้น 337,299
จำนวนผู้โดยสารเพิ่มขึ้น 56,131,064
น้ำหนักสินค้า (ตัน)เพิ่มขึ้น 3,600,288
ข้อมูลจาก KAC[2][3]

ท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน (ฮังกึล: 인천국제공항, ฮันจา: 仁川國際空港) ตั้งอยู่ที่เกาะย็องชง เมืองอินช็อน ประเทศเกาหลีใต้ ซึ่งอยู่ทางตะวันตกของโซล โดยเป็นท่าอากาศยานหลักของเกาหลีใต้ และสายการบินแห่งชาติอย่างโคเรียนแอร์ รวมทั้งเอเชียน่าแอร์ไลน์ และคาร์โก360 แทนที่ท่าอากาศยานกิมโป (เดิมคือท่าอากาศยานนานาชาติกิมโป) นับตั้งแต่ พ.ศ. 2544 เป็นต้นมา อินช็อนยังได้รับการยอมรับจากสกายแทร็ก ว่าเป็นท่าอากาศยานระดับ 5 ดาว ร่วมกันกับชางงีของสิงคโปร์ และฮ่องกงของจีน ใน พ.ศ. 2552 ท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อนได้รับการลงคะแนนให้เป็นท่าอากาศยานที่ดีที่สุดในโลกจากการจัดอันดับโดยสกายแทร็ก[4] นอกจากนี้ อินช็อนยังได้ครองตำแหน่งท่าอากาศยานที่ดีที่สุดในโลกต่อเนื่องเป็นเวลา 12 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 ถึง 2559 จากการจัดอันดับโดยเอเอสคิว (Airport Service Quality)[5]

ปัจจุบัน ท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อนมีอาคารผู้โดยสาร 2 อาคาร โดยอาคารผู้โดยสาร 2 หรือเทอร์มินอล 2 ได้เปิดใช้บริการในเดือน ม.ค. ปี พ.ศ. 2561 ผู้โดยสารสามารถเดินทางระหว่างอาคารผู้โดยสารทั้ง 2 อาคารโดยใช้บริการรถบัสฟรีที่มีให้บริการทุก 5 นาที หรือรถไฟเออาร์อีเอ็กซ์ (AREX: Airport Railroad Express) ซึ่งมีค่าใช้จ่ายประมาณ 900 วอน

ในปี 2562 ท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อนให้บริการผู้โดยสารขาเข้าและขาออกรวมกันจำนวน 71,169,722 คน และมีปริมาณไฟลท์รวม 404,104 ไฟลท์[6]

สายการบินและจุดหมายปลายทาง[แก้]

ฝูงบินของโคเรียนแอร์ จอดเทียบทางออก
แอร์บัส เอ 330 ของโคเรียนแอร์ กำลังเตรียมตัว

ท่าอากาศยานแห่งนี้มีสายการบินให้บริการมากกว่า 69 สาย โดยสายการบินที่มีจำนวนผู้โดยสารมากที่สุดคือ โคเรียนแอร์ ตามมาด้วยเอเชียนาแอร์ไลน์

สายการบิน จุดหมายปลายทาง
แอโรฟลอต มอสโก
Air Astana อัลมาเตอ
Aircalin นูเมอา
แอร์แคนาดา โตรอนโต เฉพาะฤดูกาล, แวนคูเวอร์
แอร์ไชนา ปักกิ่ง, เฉิงตู, ฉงชิง, ต้าเหลียน, หางโจว, เทียนจิน, ชิงเตา, เวยไห่, Yanji
แอร์ฟรานซ์ ปารีส
แอร์อินเดีย เดลฮี, ฮ่องกง, มุมไบ
แอร์มาเก๊า มาเก๊า
ออลนิปปอนแอร์เวย์ นาโกยา, โอซะกะ, โตเกียว
อังกอร์แอร์เวย์ เสียมราฐ เฉพาะฤดูกาล
Asian Spirit ดาเวา, Kalibo, Laoag
เอเชียนาแอร์ไลน์ อัลมาเตอ, อะซะฮิกะวะ, กรุงเทพมหานคร, ปักกิ่ง, เซบู, ฉางชุน, ฉางซา, เฉิงตู, ชิคาโก, ฉงชิ่ง, ต้าเหลียน, เดลฮี, แฟรงก์เฟิร์ต, ฟุกุโอกะ, ฟุกุชิมะ, กวางโจว, กุ้ยหลิน, ไหโข่ว, หางโจว, ฮานอย, ฮาร์บิน, ฮิโรชิมา, โฮจิมินห์ซิตี, ฮ่องกง, Khabarovsk, โกตา คินาบารู, คุมะโมะโตะ, ลอนดอน, ลอสแอนเจลิส, มะนิลา, มัตสึยะมะ, มิยะซะกิ, นาโกยา, หนานจิง, นิวยอร์ก, โอกินาวา, โอซากา, ปารีส [เริ่มมีนาคม พ.ศ. 2551], พนมเปญ, ภูเก็ต, ชิงเตา, ไซปัน, ซานฟรานซิสโก, Seattle/Tacoma, เซนได, เซี่ยงไฮ้, เซินหยาง, เซินเจิ้น, เสียมราฐ, สิงคโปร์, ซิดนีย์, ไทเป, ทะกะมัตสึ, ทาชเคนต์, เทียนจิน, โตเกียว, โทะยะมะ, เวยไห่, ซีอาน, Yanji, Yantai, Yonago, Yuzhno-Sakhalinsk
คาเธย์แปซิฟิค ฮ่องกง, ไทเป
เซบูแปซิฟิก เซบู, มะนิลา
ไชนาแอร์ไลน์ ไทเป
แมนดารินแอร์ไลน์ Taichung เฉพาะฤดูกาล
ไชน่าอีสเทิร์นแอร์ไลน์ กรุงเทพมหานคร, ปักกิ่ง, ฉางซา, กุ้ยหลิน, Haikou, คุนหมิง, หนานจิง, หนิงโป, Qingdao, Sanya, เซี่ยงไฮ้, Weihai, ซีอาน, Yancheng, Yantai
China Southern Airlines ปักกิ่ง, Changchun, ฉางซา, ต้าเหลียน, กวางโจว, ฮาร์บิน, Mudanjiang, ซานย่า, เซี่ยงไฮ้, เซินหยาง, Yanji
Dalavia Khabarovsk
เดลตาแอร์ไลน์ แอตแลนตา
เอมิเรตส์แอร์ไลน์ ดูไบ
อีวีเอแอร์ ไทเป
อีสตาร์ เจ็ท กรุงเทพมหานคร, เสียมราฐ, นิงบู, จี๋หนาน, เซี่ยงไฮ้, Shenyang, ฮ่องกง, ฟุกุโอกะ, นาฮะ, โอซาก้า, ซัปโปโร, โตเกียว, Kota Kinabalu, Cheongju, Gunsan, เชจู, โซล-คิมโพ, ไทเป, ภูเก็ต, ฮานอย
Uni Air Kaohsiung
Far Eastern Air Transport Kaohsiung
ฟินน์แอร์ เฮลซิงกิ [เริ่ม 2 มิถุนายน 2008]
การูดาอินโดนีเซีย เดนปาซาร์/บาหลี
ไหหนานแอร์ไลน์ Haikou, Sanya
อิหร่านแอร์ เตหะราน, โตเกียว
แจแปนแอร์ไลน์ นาโกยา, โอซากา, โตเกียว
เคแอลเอ็ม อัมสเตอร์ดัม
โคเรียนแอร์ อาคิตะ, อัมสเตอร์ดัม, Anchorage เฉพาะฤดูกาล, อาโอโมริ, แอตแลนตา, ออกแลนด์, กรุงเทพมหานคร, ปักกิ่ง, บริสเบน, ไคโร, เซบู, ฉางซา, เชียงใหม่, ชิคาโก, ต้าเหลียน, ดัลลัส/ฟอร์ตเวิร์ท, Denpasar/Bali, ดูไบ, แฟรงก์เฟิร์ต, ฟุกุโอกะ, กวม, กวางโจว, ฮาโคดาเตะ, ฮานอย, โฮจิมินห์ซิตี, ฮ่องกง, โฮโนลูลู, หวงซาน เฉพาะฤดูกาล, อิสตันบูล, จาการ์ตา, Jinan, คะโงะชิมะ, กาฐมาณฑุ, โคมัทสึ, Kota Kinabalu, กัวลาลัมเปอร์, คุนหมิง, ลาสเวกัส, ลอนดอน, ลอสแอนเจลิส, มาดริด, มะนิลา, เมลเบิร์น, มอสโก, มุมไบ, Nadi, นางาซากิ, นาโกยา, นิวยอร์ก, Niigata, Oita, Okayama, โอซากา, ปารีส, พัทยา, พนมเปญ, ภูเก็ต, ปราก, Qingdao, โรม, St. Petersburg เฉพาะฤดูกาล, ซานฟรานซิสโก, Sanya, São Paulo-Guarulhos [resumes April 2008], ซัปโปโร, Seattle/Tacoma, เซี่ยงไฮ้, เซินหยาง, เซินเจิ้น, เสียมราฐ, สิงคโปร์, ซิดนีย์, ไทเป, เทียนจิน, โตเกียว, โตรอนโต, Ulaanbataar, Urumqi เฉพาะฤดูกาล, แวนคูเวอร์, เวียนนา, Vladivostok, Washington-Dulles, Weihai, Wuhan, เซียะเหมิน, Yanji, Yantai, เจิ้งโจว, ซูริค
ลุฟท์ฮันซา แฟรงก์เฟิร์ต, มิวนิก, เซินหยาง [begins June 8, 2008]

+Though Lufthansa's flight between Busan and Munich stops in Seoul-Incheon, passengers cannot purchase tickets to fly Lufthansa between Seoul and Busan.

มาเลเซียแอร์ไลน์ Kota Kinabalu, กัวลาลัมเปอร์
MIAT Mongolian Airlines โตเกียว, Ulaanbataar
Northwest Airlines Seattle/Tacoma, โตเกียว
ฟิลิปปินส์แอร์ไลน์ เซบู, มะนิลา
PMTair เสียมราฐ
ควอนตัส ซิดนีย์ เฉพาะฤดูกาล
กาตาร์แอร์เวย์ โดฮา, โอซากา
Royal Khmer Airlines เสียมราฐ
SAT Airlines Yuzhno-Sakhalinsk
Shandong Airlines Jinan, Qingdao, Weihai, Yantai
เซี่ยงไฮ้แอร์ไลน์ Shanghai-Pudong
เซินเจิ้นแอร์ไลน์ ฟุโจว, เซินเจิ้น
เสฉวนแอร์ไลน์ เฉิงตู
สิงคโปร์แอร์ไลน์ ซานฟรานซิสโก, สิงคโปร์, แวนคูเวอร์, ลอสแอนเจลิส
สกายสตาร์ แอร์เวย์ ภูเก็ต, กรุงเทพมหานคร
S7 Airlines Novosibirsk
การบินไทย กรุงเทพมหานคร, ฮ่องกง, ไทเป, ลอสแอนเจลิส
ไทยแอร์เอเชียเอกซ์ (XJ) กรุงเทพฯ - ดอนเมือง
TransAsia Airways ไทเป เฉพาะฤดูกาล
เตอร์กิชแอร์ไลน์ อิสตันบูล
ยูไนเต็ดแอร์ไลน์ ชิคาโก, ซานฟรานซิสโก, โตเกียว
Uzbekistan Airways Tashkent
เวียดนามแอร์ไลน์ ฮานอย, โฮจิมินห์ซิตี
Vladivostok Air กรุงเทพมหานคร, Vladivostok
เซียะเหมินแอร์ไลน์ ฟุโจว, เซียะเหมิน

อ้างอิง[แก้]

  1. "인천국제공항, 개항 21주년 기념식 개최". สืบค้นเมื่อ 19 March 2023.
  2. "해당 월 통계자료는 익월 업무일 기준 5일 이후 공표". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 January 2019. สืบค้นเมื่อ 2019-01-20.
  3. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ statistics2
  4. "S Korean airport 'best in world'". BBC News. สืบค้นเมื่อ 2009-06-15.
  5. Service (KOCIS), Korean Culture and Information. "Incheon airport remains world's best airport for 12th year : Korea.net : The official website of the Republic of Korea". www.korea.net (ภาษาอังกฤษ).
  6. "Incheon International Airport". www.airport.kr.