ข้ามไปเนื้อหา

รายพระนามและรายนามผู้จุดกระถางคบเพลิงโอลิมปิก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
หลี่ หนิง, นักกีฬายิมนาสติกเหรียญทองโอลิมปิกฤดูร้อน 1984 เป็นผู้จุดคบเพลิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008

รายพระนามและรายนามผู้จุดกระถางคบเพลิงโอลิมปิก ตามธรรมเนียมการนำเพลิงโอลิมปิกจากเมืองโอลิมเปีย ประเทศกรีซไปยังประเทศเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกได้นำมาใช้เป็นครั้งแรกในโอลิมปิกฤดูร้อน ปี ค.ศ.1936 ซึ่งผู้ถือคบเพลิงคนสุดท้ายในพิธีเปิดโอลิมปิก นั้นอาจจะเป็นนักกีฬาที่มีชื่อเสียง (เลิกเล่นแล้ว หรือยังเล่นอยู่ก็ได้) ซึ่งเป็นผู้สร้างผลงานทางด้านกีฬาให้แก่ประเทศเจ้าภาพ หรืออาจจะเป็นเยาวชน หรือบุคคลทางสัญลักษณ์

รายพระนามและรายนามผู้จุดกระถางคบเพลิงโอลิมปิกฤดูร้อน

[แก้]
การแข่งขัน เมืองเจ้าภาพ ผู้จุดกระถางคบเพลิง กีฬา หมายเหตุ อ้างอิง
1936 เบอร์ลิน ฟริทซ์ ชิลเกิน ลู่และลาน สไคลเยนไม่ได้เป็นผู้แข่งขันในโอลิมปิก แต่ถูกเลือกเนื่องจากท่าวิ่งที่สง่างาม [1]
1948 ลอนดอน จอห์น มาร์ก ลู่และลาน นักศึกษาแพทย์จากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ [2]
1952 เฮลซิงกิ ปาวอ นูร์มี ลู่และลาน นูร์มีเป็นนักกีฬาเหรียญทองโอลิมปิก 9 เหรียญ ส่วนโคเล์ไมเนนเป็นนักกีฬาเหรียญทองโอลิมปิก 4 เหรียญ ในช่วงทศวรรตที่ 1920 [3]
ฮันส์ โคเล์ไมเนน
1956 เมลเบิร์น รอน คลาร์ก
(เมลเบิร์น)
ลู่และลาน คลาร์ก ได้เหรียญทองแดงในปี 1964 ส่วนวิคเนอ ได้เข้าร่วมในปี 1964 [4]
ฮันส์ วิคเนอ
(สต็อกโฮล์ม)
กีฬาขี่ม้า
1960 โรม เจียนการ์โล เปริส ลู่และลาน เป็นนักกีฬากรีฑาเชื้อสายกรีก ซึ่งเขาได้เป็นผู้จุดคบเพลิง เนื่องจากเขาได้รางวัลชนะเลิศวิ่งข้ามทุ่ง ระดับยุวชน [5]
1964 โตเกียว โยะชิโนะริ ซะกะอิ ลู่และลาน ซะกะอิเกิดในวันเดียวกับเกิดเหตุการณ์การทิ้งระเบิดถล่มเมืองฮิโระชิมะ โดยซะกะอิไม่เคยเข้าร่วมแข่งขันโอลิมปิก [6]
1968 เม็กซิโกซิตี เอนรีเกตา บาซีลีโอ ลู่และลาน นักกีฬาที่เข้าร่วมแข่งขันในครั้งนี้ และเป็นผู้หญิงคนแรกที่จุดกระถางคบเพลิงโอลิมปิก [7]
1972 มิวนิก กึนเทอร์ ซาห์น ลู่และลาน นักกรีฑาที่ชนะเลิศในรายการชิงชนะเลิศแห่งเยอรมนี ระดับยุวชน [8]
1976 มอนทรีออล สเตฟาน เพรฟงแตน ลู่และลาน นักกีฬาวัยรุ่นชาวแคนดาเชื้อสายอังกฤษ และฝรั่งเศส ซึ่งทั้งคู่ไม่ได้ร่วมแข่งขันโอลิมปิกครั้งไหนๆเลย หลังจากปี 1976 [9]
แซนดร้า เฮนเดอร์สัน ยิมนาสติก
1980 มอสโก เซอร์เกย์ เบลอฟ บาสเกตบอล สมาชิกของทีมบาสเกตบอลทีมชาติสหภาพโซเวียต ซึ่งได้เหรียญทองโอลิมปิก 4 สมัย [10]
1984 ลอสแอนเจลิส เรเฟอร์ จอห์นสัน ลู่และลาน นักกีฬาเหรียญทองรายการทศกรีฑา บุคคลชาย ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1960 [11]
1988 โซล ช็อง ซ็อน-มัน ไม่ใช่นักกีฬา ช็อง ซ็อน-มัน เป็นคุณครู ส่วนช็อง มี-ชุง เป็นนักเต้น, คิม ว็อน-ทัก เป็นนักกรีฑาที่เข้าร่วมในครั้งนั้น ในประเภทมาราธอน [12]
ช็อง มี-ชุง
คิม ว็อน-ทัก ลู่และลาน
1992 บาร์เซโลนา อันโตนีโอ เรโบโย ยิงธนู อันโตนีโอ เรโบโย เป็นนักกีฬาพาราลิมปิกที่เข้าร่วมใน พาราลิมปิกฤดูร้อน 1984, พาราลิมปิกฤดูร้อน 1988 และ พาราลิมปิกฤดูร้อน 1992 โดยได้เหรียญเงิน 2 เหรียญ และเหรียญทองแดง 1 เหรียญ โดยเป็นคนเดียวที่เป็นนักกีฬาพาราลิมปิกที่จุดกระถางคบเพลิงโอลิมปิก โดยอันโตนีโอ เรโบโยได้ยิงธนูตกลงในกระถางคบเพลิงที่เปิดแก๊สไว้ [13]
1996 แอตแลนตา มูฮัมหมัด อาลี มวยสากล มูฮัมหมัด อาลี เป็นนักกีฬาเหรียญทองโอลิมปิกฤดูร้อน 1960 ประเภทเฮฟวี่เวท และเป็นแชมป์มวยอาชีพโลก [14]
2000 ซิดนีย์ แคที ฟรีเมน ลู่และลาน แคที ฟรีเมน เป็นนักกีฬาที่ได้เหรียญเงินโอลิมปิกฤดูร้อน 1996 ซึ่งต่อมาได้เหรียญทอง ประเภท 400 เมตร ในครั้งนั้น เธอเป็นคนเดียวที่ได้จุดกระถางคบเพลิง และได้เหรียญทองในครั้งเดียวกัน [15]
2004 เอเธนส์ นิโคลอส กากลามานากิส เรือใบ นิโคลอส กากลามานากิส เป็นนักกีฬาที่ได้เหรียญทองโอลิมปิกฤดูร้อน 1996 ซึ่งต่อมาได้เหรียญเงินในครั้งนั้น [16]
2008 ปักกิ่ง หลี่ หนิง ยิมนาสติกศิลป์ หลี่ หนิง เป็นนักกีฬาที่ได้เหรียญทองโอลิมปิกฤดูร้อน 1984 ซึ่งได้ทั้งหมด 6 เหรียญทอง [17]
2012 ลอนดอน เดซีรี เฮนรี ลู่และลาน กระถางคบเพลิงได้ถูกจุดด้วยนักกีฬายุวชนทั้งหมด 7 คน ซึ่งถูกเสนอชื่อโดยนักกีฬาที่สร้างชื่อเสียงในอดีต โดยแคลุม เอร์ลี ได้ถูกเสนอชื่อโดย เชอร์ลี่ย์ โรเบิร์ตสัน, จอร์แดน ดักกิต ได้ถูกเสนอชื่อโดย ดันแคน กู๊ดิว, เดซีรี เฮนรี ได้ถูกเสนอชื่อโดย เดลีย์ ทอมป์สัน, เคที เคิร์ก ได้ถูกเสนอชื่อโดย แมรี ปีเตอรส์, แคเมรอน แมกริตชี ได้ถูกเสนอชื่อโดย สตีฟ เรดเจรฟ, ไอเดน เรโนลด์ ได้ถูกเสนอชื่อโดย ลินน์ เดวีส์ และอะเดล เทรซีย์ ได้ถูกเสนอชื่อโดย เคลลี โฮล์เมส หลังจากนั้น ออสติน เพลย์ฟุท ได้จุดกระถางคบเพลิงอีกครั้งในสนาม

หลังจากการแข่งขันครั้งนั้น เฮนรี ได้เหรียญทองแดงโอลิมปิก ประเภท ผลัก 4 × 100 เมตรหญิง ในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016

[18][19]
เคที เคิร์ก
ไอเดน เรโนลด์
อะเดล เทรซีย์
แคลุม เอร์ลี เรือใบ
จอร์แดน ดักกิต อาสาสมัคร
แคเมรอน แมกริตชี เรือยาว
2016 รีโอเดจาเนโร วังแดร์เลย์ โกร์เดย์รู จี ลีมา
(ในสนาม)
กรีฑา วังแดร์เลย์ จี ลีมา เป็นผู้ได้เหรียญทองแดงกรีฑา ประเภทมาราธอน ในโอลิมปิกฤดูร้อน 2004 และได้เป็นชาวละตินอเมริกาที่ได้เหรียญปีแยร์ เดอ กูแบร์แต็ง หลังจากถูกผู้ไม่ประสงค์ดีพุ่งชนในระหว่างแข่งขัน [20][21]
จอร์จี โกเมส
(ในที่สาธารณะ)
ต่อมาได้ถูกจุดหน้า วิหารแคนดาเรียลา โดยเด็กอายุ 14 ปี
2020 โตเกียว นาโอมิ โอซากะ (คบเพลิงในสนามกีฬา) เทนนิส นักเทนนิสชาวญี่ปุ่น ผู้ชนะแกรนด์สแลมประเภทหญิงเดี่ยวสี่ครั้ง และเป็นมือวางอันดับสองของโลก ในช่วงเวลาการแข่งขันโอลิมปิกดังกล่าว [22]
อายากะ ทากาฮาชิ (คบเพลิงสาธารณะ) แบดมินตัน อดีตนักกีฬาแบดมินตันชาวญี่ปุ่น เจ้าของเหรียญทองแบดมินตันหญิงคู่ในโอลิมปิก 2016 แชมป์เอเชียสองครั้ง เหรียญเงินเอเชียนเกมส์สองครั้ง และเหรียญทองแดงแบดมินตันชิงแชมป์โลก

รายพระนามและรายนามผู้จุดกระถางคบเพลิงโอลิมปิกฤดูหนาว

[แก้]
การแข่งขัน เมืองเจ้าภาพ ผู้จุดกระถางคบเพลิง กีฬา หมายเหตุ อ้างอิง
1952 ออสโล ไอกิล นอนเซน ไม่ใช่นักกีฬา หลานชายของ ฟริดท์จอฟ นันเซน ผู้สำรวจขั้วโลก, เป็นคนแรกที่ไม่ใช่นักกีฬาที่จุดกระถางคบเพลิงโอลิมปิก [23]
1956 กอร์ตีนาดัมเปซโซ กวีโด กาโรลี สเกตความเร็ว นักกีฬาที่เข้าร่วมในปี 1948, 1952 และ 1956 [24]
1960 สควอว์วัลเลย์ เคน เฮนรี สเกตความเร็ว นักกีฬาเหรียญทองโอลิมปิก 1952 รายการ 500 เมตร บุคคลชาย [25]
1964 อินส์บรุค โยเซฟ รีเดอร์ สกีลงเขา นักกีฬาที่ได้เข้าร่วมในปี 1956 [26]
1968 เกรอนอบล์ อาแล็ง กัลมัต สเกตลีลา นักกีฬาเหรียญทองโอลิมปิก 1964 รายการบุคคลชาย [27]
1972 ซัปโปะโระ ฮิเดะกิ ทะกะดะ สเกตความเร็ว [28]
1976 อินส์บรุค คริสตล์ ฮาส สกีลงเขา นักกีฬาเหรียญทองโอลิมปิก 1964 รายการดาวน์ฮิลล์ (ฮาส) และประเภทคู่ตามลำดับ (ไฟสต์มันทล์) [29]
โยเซฟ ไฟสต์มันทล์ ลูช
1980 เลคพลาซิด ชาลส์ มอร์แกน เคอร์ ไม่ใช่นักกีฬา แพทย์จากรัฐแอริโซนา [30]
1984 ซาราเยโว ซันดา ดูบราฟชิช สเกตลีลา Participant in the 1980 and 1984 Olympics. [31]
1988 แคลกะรี รอบิน เพร์รี สเกตลีลา A 12-year-old schoolgirl and aspiring figure skater. [32]
1992 อัลแบร์วิล มีแชล ปลาตีนี Association football Platini took part with the French Football team in the 1976 โอลิมปิกฤดูร้อน. Grange was a future alpine skier (and older brother of future multiple time สกีลงเขา Slalom World Champion Jean-Baptiste Grange) and was nine years old at the time, becoming the youngest final lighter in history. [33]
ฟร็องซัว-ซิริล กร็อฌ์ สกีลงเขา
1994 ลีลแฮมเมอร์ เจ้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์ Non-athlete Heir apparent to the throne of Norway. Though he was not an Olympian, both his father and grandfather took part in the Olympics and he lit the cauldron on their behalf. His father declared the games open. [34]
1998 นะงะโนะ มีโดะรี อิโต สเกตลีลา Winner of Olympic silver in 1992. [35]
2002 ซอลต์เลกซิตี The 1980 U.S. Olympic ฮอกกี้น้ำแข็ง team ฮอกกี้น้ำแข็ง Famous for the "Miracle on Ice"; an upset of the Soviet Union team en route to the gold medal. [36]
2006 ตูริน สเตฟาเนีย เบลมอนโด Cross-country skiing Winner of ten Olympic medals, two of them gold. One of Italy's most decorated Olympians. [37]
2010 แวนคูเวอร์ สตีฟ แนช (ในสนาม) บาสเกตบอล คาทรีโอนา เล เมย์ โดน เป็นนักกีฬาที่ได้เหรียญทองในปี 1998 และ 2002 ในประเภท 500 เมตร บุคคลหญิง ส่วนสตีฟ แนช เป็นนีกกีฬาที่ได้รับรางวัลผู้เล่นททรงคุณค่า 2 สมัย ในลีกสมาคมบาสเกตบอลแห่งชาติ (NBA) ในสังกัด ฟีนิกซ์ ซันส์ and a former member of the Canadian Olympic บาสเกตบอล team. Greene won gold in the giant slalom and silver in the slalom in 1968. Gretzky was a member of the Canadian ฮอกกี้น้ำแข็ง team and won four Stanley Cup titles as captain of the Edmonton Oilers (แม่แบบ:Scfy, แม่แบบ:Scfy, แม่แบบ:Scfy, แม่แบบ:Scfy). He was the Executive Director of the Canadian men's hockey team in 2002, who won gold at those games.

During the opening ceremony, Nash, Greene and Gretzky lit a cauldron inside the BC Place indoor stadium. Gretzky then lit a second, outdoor cauldron near the Vancouver Convention Centre. Only the outdoor cauldron remained lit throughout the Games.

Le May Doan was supposed to participate in the lighting of the indoor cauldron, but was left out when one of the four arms failed to raise due to mechanical problems. This was corrected at the beginning of the closing ceremony, when a joke was made about the mechanical error, and she was able to light the newly emerged fourth arm and relight the indoor cauldron to begin the closing ceremony.

[38][39][40]
แนนซี กรีน (ในสนาม) สกีลงเขา
เวย์น เกรตซกี (ในและนอกสนาม) ฮอกกี้น้ำแข็ง
คาทรีโอนา เล เมย์ โดน (พิธีปิด) สเกตความเร็ว
2014 โซชี อีรีนา รอดนีนา สเกตลีลา รอดนีนาได้เหรียญทองโอลิมปิก 3 สมัยซ้อน ส่วนเตรตยักได้เหรียญโอลิมปิก 4 เหรียญ [41]
วลาดิสลาฟ เตรตยัก ฮอกกี้น้ำแข็ง
2018 พย็องชัง คิม ยู-นา สเกตลีลา คิม ยู-นา เป็นนักกีฬาเหรียญทอง บุคคลหญิง ในปี 2010 และเหรียญเงิน ในปี 2014 [42]

รายพระนามและรายนามผู้จุดกระถางคบเพลิงโอลิมปิกเยาวชนฤดูร้อน

[แก้]
การแข่งขัน เมืองเจ้าภาพ ผู้จุดกระถางคบเพลิง กีฬา หมายเหตุ อ้างอิง
2010 สิงคโปร์ ดาเรน ชอย เรือใบ ผู้เข้าร่วมในโอลิมปิกเยาวชนฤดูร้อน 2010
2014 หนานจิง เฉิน รั่วหลิน กระโดดน้ำ ผู้ที่ได้เหรียญทองรายการ 10 เมตร และ 10 เมตร ซิงโครไนซ์ ในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 และ 2012 หลังจากนั้นเธอได้เหรียญทองในปี 2016 อีกด้วย

รายพระนามและรายนามผู้จุดกระถางคบเพลิงโอลิมปิกเยาวชนฤดหนาว

[แก้]
การแข่งขัน เมืองเจ้าภาพ ผู้จุดกระถางคบเพลิง กีฬา หมายเหตุ อ้างอิง
2012 อินส์บรุค อีกอน ซิมเมอร์มันน์ สกีลงเขา ทั้งซิมเมอร์มันน์และคลัมเมอร์ได้เหรียญทองโอลิมปิกฤดูหนาวรายการดาวน์ฮิลล์ ในปี 1964 และ1976 ตามลำดับ
ฟรานซ์ คลัมเมอร์
2016 ลิลเลฮัมเมร์ เจ้าหญิงอิงกริด อเล็กซันดรา ไม่ใช่นักกีฬา พระธิดาองค์โตใน เจ้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมาร, ซึ่งทรงเป็นผู้จุดคบเพลิงโอิลมปิกฤดูหนาว 1994 [43]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Berlin 1936 โอลิมปิกฤดูร้อน – results & video highlights". Olympic.org. 20 May 2016. สืบค้นเมื่อ 9 September 2016.
  2. "ลอนดอน 1948 โอลิมปิกฤดูร้อน – results & video highlights". Olympic.org. 20 May 2016. สืบค้นเมื่อ 9 September 2016.
  3. "Helsinki 1952 โอลิมปิกฤดูร้อน – results & video highlights". Olympic.org. 20 May 2016. สืบค้นเมื่อ 9 September 2016.
  4. "Melbourne / Stockholm 1956 โอลิมปิกฤดูร้อน – results & video highlights". Olympic.org. 20 May 2016. สืบค้นเมื่อ 9 September 2016.
  5. "Rome 1960 โอลิมปิกฤดูร้อน – results & video highlights". Olympic.org. 20 May 2016. สืบค้นเมื่อ 9 September 2016.
  6. "Tokyo 1964 โอลิมปิกฤดูร้อน – results & video highlights". Olympic.org. 20 May 2016. สืบค้นเมื่อ 9 September 2016.
  7. "Mexico 1968 โอลิมปิกฤดูร้อน – results & video highlights". Olympic.org. 24 May 2016. สืบค้นเมื่อ 9 September 2016.
  8. "Munich 1972 โอลิมปิกฤดูร้อน – results & video highlights". Olympic.org. 20 May 2016. สืบค้นเมื่อ 9 September 2016.
  9. "Montreal 1976 Olympic Games". Olympic.org. 20 May 2016. สืบค้นเมื่อ 9 September 2016.
  10. "IOC 1980 โอลิมปิกฤดูร้อน". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-08-16. สืบค้นเมื่อ 2021-08-27.
  11. "Los Angeles 1984 โอลิมปิกฤดูร้อน – results & video highlights". Olympic.org. 24 May 2016. สืบค้นเมื่อ 9 September 2016.
  12. "Seoul 1988 ฤดูร้อน Games Olympics – results & video highlights". Olympic.org. สืบค้นเมื่อ 9 September 2016.
  13. "Barcelona 1992 โอลิมปิกฤดูร้อน – results & video highlights". Olympic.org. 7 July 2016. สืบค้นเมื่อ 9 September 2016.
  14. "Atlanta 1996 โอลิมปิกฤดูร้อน – results & video highlights". Olympic.org. 20 July 2016. สืบค้นเมื่อ 9 September 2016.
  15. "Sydney 2000 โอลิมปิกฤดูร้อน – results & video highlights". Olympic.org. 19 July 2016. สืบค้นเมื่อ 9 September 2016.
  16. "Athens 2004 โอลิมปิกฤดูร้อน – results & video highlights". Olympic.org. 7 July 2016. สืบค้นเมื่อ 9 September 2016.
  17. "Beijing 2008 ฤดูร้อน Games Olympics – results & video highlights". Olympic.org. สืบค้นเมื่อ 9 September 2016.
  18. Holton, Kate; Maidment, Neil (28 July 2012). "Seven teenagers light Games' cauldron". Reuters. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-01-06. สืบค้นเมื่อ 28 July 2012.
  19. "Cauldron moved into position in Olympic Stadium". ลอนดอน 2012. 30 July 2012. สืบค้นเมื่อ 20 February 2013.
  20. "Best man for the job: Vanderlei de Lima lights Olympic cauldron". NBC Sports. 6 August 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-08-27. สืบค้นเมื่อ 14 September 2016.
  21. "Formerly homeless boy who lit Olympic cauldron now has 'beautiful life'". CBC. 12 August 2016. สืบค้นเมื่อ 14 September 2016.
  22. "Olympics latest: Naomi Osaka lights Olympic flame". Nikkei. 23 July 2021.
  23. "Oslo 1952 โอลิมปิกฤดูหนาว – results & video highlights". Olympic.org. 20 May 2016. สืบค้นเมื่อ 9 September 2016.
  24. "Cortina d'Ampezzo 1956 โอลิมปิกฤดูหนาว – results & video highlights". Olympic.org. 20 May 2016. สืบค้นเมื่อ 9 September 2016.
  25. "Squaw Valley 1960 โอลิมปิกฤดูหนาว – results & video highlights". Olympic.org. 20 May 2016. สืบค้นเมื่อ 9 September 2016.
  26. "อินส์บรุค 1964 โอลิมปิกฤดูหนาว – results & video highlights". Olympic.org. 20 May 2016. สืบค้นเมื่อ 9 September 2016.
  27. "Grenoble 1968 Olympic Games". Olympic.org. 20 May 2016. สืบค้นเมื่อ 9 September 2016.
  28. "Munich 1972 โอลิมปิกฤดูร้อน – results & video highlights". Olympic.org. 20 May 2016. สืบค้นเมื่อ 9 September 2016.
  29. "อินส์บรุค 1976 โอลิมปิกฤดูหนาว – results & video highlights". Olympic.org. 20 May 2016. สืบค้นเมื่อ 9 September 2016.
  30. "Lake Placid 1980 โอลิมปิกฤดูหนาว – results & video highlights". Olympic.org. 20 May 2016. สืบค้นเมื่อ 9 September 2016.
  31. "Sarajevo 1984 โอลิมปิกฤดูหนาว – results & video highlights". Olympic.org. 20 May 2016. สืบค้นเมื่อ 9 September 2016.
  32. "Calgary 1988 โอลิมปิกฤดูหนาว – results & video highlights". Olympic.org. 20 May 2016. สืบค้นเมื่อ 9 September 2016.
  33. "Albertville 1992 โอลิมปิกฤดูหนาว – results & video highlights". Olympic.org. 20 May 2016. สืบค้นเมื่อ 9 September 2016.
  34. "Lillehammer 1994". Olympic.org. 20 May 2016. สืบค้นเมื่อ 9 September 2016.
  35. "Nagano 1998 โอลิมปิกฤดูหนาว – results & video highlights". Olympic.org. 20 May 2016. สืบค้นเมื่อ 9 September 2016.
  36. "Salt Lake City 2002 โอลิมปิกฤดูหนาว – results & video highlights". Olympic.org. 11 July 2016. สืบค้นเมื่อ 9 September 2016.
  37. "Turin 2006 โอลิมปิกฤดูหนาว – results & video highlights". Olympic.org. 20 May 2016. สืบค้นเมื่อ 9 September 2016.
  38. Friesen, Paul (13 February 2010). "Opening Ceremony timeline". Toronto Sun. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-05-06. สืบค้นเมื่อ 13 February 2010.
  39. 2010 โอลิมปิกฤดูหนาว opening ceremony (television). NBC Sports. 2010-02-12.
  40. Kines, Lindsay (February 28, 2010). "Closing ceremony pokes fun at the 2010 Games". The Montreal Gazette. สืบค้นเมื่อ 1 March 2010.[ลิงก์เสีย]
  41. "Sochi Opening Ceremony: Rodnina, Tretyak light Olympic cauldron together". NBC Sports. 7 February 2014. สืบค้นเมื่อ 7 February 2014.
  42. "Korean figure skater Kim Yuna lights Olympic cauldron". Yahoo Sports. 9 February 2018. สืบค้นเมื่อ 9 February 2018.
  43. "Princess Ingrid Alexandra lit the Olympic fire". Norway Today. 12 February 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-02-14. สืบค้นเมื่อ 13 February 2016.