ข้ามไปเนื้อหา

การวิ่งคบเพลิงโอลิมปิกฤดูร้อน 2020

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
การจุดคบเพลิงโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 20
เมืองเจ้าภาพโตเกียว
ประเทศ ญี่ปุ่น
ประเทศที่จุดคบเพลิง กรีซ
ความยาว20,000 กม. (12,000 ไมล์)
วันที่เริ่มต้น12 มีนาคม พ.ศ.2563
วันที่สิ้นสุดพ.ศ. 2564

การวิ่งคบเพลิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 เริ่มตั้งแต่วันที่ 12 มีนาคมถึง 24 กรกฎาคม พ.ศ.2563 หลังจากพิธีจุดไฟโอลิมปิกที่โอลิมเปีย ประเทศกรีซ คบเพลิงถูกส่งมอบให้กับอันนา โครากากิ นักกีฬายิงปืนแชมป์โอลิมปิก ซึ่งเธอจะกลายเป็นสตรีคนแรกที่ได้เป็นผู้วิ่งคบเพลิงโอลิมปิกลำดับแรกสุด [1] และจะเดินทางไปยังกรุงเอเธนส์ในวันที่ 19 มีนาคม สำหรับการวิ่งคบเพลิงในประเทศญี่ปุ่นจะเริ่มต้นขึ้นที่เมืองฟูกูชิมะ [2] และจะสิ้นสุดในสนามกีฬาแห่งชาติใหม่ของโตเกียวซึ่งเป็นสนามกีฬาหลักของการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 การวิ่งคบเพลิงจะผ่านเมืองหลักของทั้ง 47 จังหวัด [3] คบเพลิงจะถูกนำไปยังเกาะที่ห่างไกลสองแห่งของโตเกียวด้วย [4] การวิ่งคบเพลิงจะไปสิ้นสุดในพิธีเปิดการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 โดย โตโยต้า, NTT, JXTG, Nippon Life, JAL, ANA และ Japan Post Holdings เป็นผู้สนับสนุนการวิ่งคบเพลิงครั้งนี้ภายใต้คำขวัญ "Hope Lights Our Way".[5][6]

เส้นทางวิ่งในญี่ปุ่น

[แก้]
จังหวัด เส้นทาง แผนที่
ฟูกูชิมะ
27 มีนาคม (วันที่ 3): มินามิไอซุ ไปยัง โคริยามะ

เส้นทางวิ่งในมหานครโตเกียว

[แก้]
การวิ่งคบเพลิงโอลิมปิกฤดูร้อน 2020ตั้งอยู่ในโตเกียว
10 กรกฎาคม (วันที่ 100)
01. เซตางายะ
02. โคมาเอะ
03. อินางิ
04. มาจิดะ
11 กรกฎาคม (วันที่ 101)
05. ทามะ
06. ฮิโนะ
07. อากิชิมะ
08. ฮาจิโอจิ
12 กรกฎาคม (วันที่ 102)
09. ฮิโนฮาระ
010. โอกูตามะ
011. ฮิโนเดะ
012. โอเมะ
012. มิซูโฮะ
13 กรกฎาคม (วันที่ 103)
013. ฮามูระ
014. อากิรูโนะ
015. ฟุซซะ
016. มูซาชิมูรายามะ
017. ทาจิกาวะ
14 กรกฎาคม (วันที่ 104)
018. คูนิตาจิ
019. โคกูบุนจิ
020. โคไดระ
021. ฮิงาชิยามาโตะ
022. ฮิงาชิมูรายามะ
15 กรกฎาคม (วันที่ 105)
023. คิโยเซะ
024. ฮิงาชิกูรูเมะ
025. นิชิโตเกียว
026. โคงาเนอิ
027. ฟูจู
การวิ่งคบเพลิงโอลิมปิกฤดูร้อน 2020ตั้งอยู่ในโตเกียว
19 กรกฎาคม (วันที่ 106)
043. โทชิมะ
044. อิตาบาชิ
045. คิตะ
046. อาดาจิ
20 กรกฎาคม (วันที่ 107)
049. คัตสึชิกะ
050. เอโดงาวะ
051. ซูมิดะ
052. อารากาวะ
21 กรกฎาคม (วันที่ 108)
055. ไทโต
056. บุงเกียว
057. ชิโยดะ
057. ชูโอ
22 กรกฎาคม (วันที่ 109)
043. โคโต
044. โอตะ
045. ชินางาวะ
23 กรกฎาคม (วันที่ 110)
049. เมงูโระ
050. ชิบูยะ
051. มินาโตะ
24 กรกฎาคม (วันที่ 111)
055. ซูงินามิ
056. สนามกีฬาแห่งชาติใหม่ (ชินจูกุ)

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Anna Korakaki chosen to be the first torchbearer of the Tokyo 2020 Torch relay - Olympic News". International Olympic Committee (ภาษาอังกฤษ). 2020-02-08. สืบค้นเมื่อ 2020-03-04.
  2. Osumi, Magdalena (12 July 2018). "Torch relay for 2020 Summer Games to start in Fukushima Prefecture". สืบค้นเมื่อ 31 December 2018 – โดยทาง Japan Times Online.
  3. "2020 Tokyo Olympic torch relay to tour all 47 prefectures of Japan starting from Fukushima". Soranews24.com. 14 July 2018. สืบค้นเมื่อ 31 December 2018.
  4. Palmer, Dan (19 December 2018). "Tokyo 2020 Torch Relay to visit remote island groups". inside the games. insidethegames.biz. สืบค้นเมื่อ 5 June 2019.
  5. Palmer, Dan (30 November 2018). "Toyota become presenting partner of Tokyo 2020 Torch Relay". inside the game.
  6. Palmer, Dan (10 April 2018). "Tokyo 2020 unveil "Hope Lights Our Way" slogan for Torch Relay". inside the games.