ข้ามไปเนื้อหา

รายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไทย

หน้าถูกกึ่งป้องกัน
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

สมเด็จพระบรมราชินี
แห่งราชอาณาจักรไทย
ธงราชินีใหญ่ประจำพระราชอิสริยยศ
ผู้ดำรงตำแหน่งคนปัจจุบัน
สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี
ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2562
การเรียกขานใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท
ใต้ฝ่าละอองพระบาท
จวนพระราชวังดุสิต
พระบรมมหาราชวัง (ตามพระราชพิธี)
ผู้แต่งตั้งพระมหากษัตริย์ไทย
วาระตลอดรัชกาลของพระสวามี
ผู้ประเดิมตำแหน่งภุมมาวดีเทวี
สถาปนาไม่ปรากฏ

รายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไทย

อาณาจักรอยุธยา

พระนาม ตำแหน่ง ดำรงตำแหน่ง พ้นจากตำแหน่ง พระราชสวามี หมายเหตุ
ภุมมาวดีเทวี พระมเหสี พ.ศ. 1893 พ.ศ. 1912 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 [1]
ไม่ปรากฏพระนาม พระมเหสี พ.ศ. 1912 (ครั้งที่ 1)
พ.ศ. 1931 (ครั้งที่ 2)
พ.ศ. 1913 (ครั้งที่ 1)
พ.ศ. 1938 (ครั้งที่ 2)
สมเด็จพระราเมศวร
ไม่ปรากฏพระนาม พระมเหสี พ.ศ. 1938 พ.ศ. 1952 สมเด็จพระเจ้ารามราชา
นางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์ พระอัครมเหสี พ.ศ. 2091 ขุนวรวงศาธิราช [2]
พระนาม ตำแหน่ง ดำรงตำแหน่ง พ้นจากตำแหน่ง พระราชสวามี หมายเหตุ
พระมเหสีไม่ปรากฏพระนาม พระมเหสี พ.ศ. 1913 พ.ศ. 1931 สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1
พระมหาเทวีแห่งสุโขทัย (ไม่ปรากฏพระนาม) พระชายา [3][4][5]
มิได้สถาปนา พ.ศ. 1931 สมเด็จพระเจ้าทองลัน
พระมเหสีไม่ปรากฏพระนาม พระมเหสี พ.ศ. 1952 พ.ศ. 1967 สมเด็จพระอินทราชา
พระราชเทวีจากวงศ์พระร่วง (ไม่ปรากฏพระนาม) พระมเหสี [6]
พระราชเทวีจากวงศ์พระร่วง (ไม่ปรากฏพระนาม) พระมเหสี พ.ศ. 1967 พ.ศ. 1991 สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 [7][8]
พระราชเทวีจากวงศ์พระร่วง (ไม่ปรากฏพระนาม) พระอัครมเหสี พ.ศ. 1991 พ.ศ. 2031 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
ไม่ปรากฏพระนาม พระมเหสี พ.ศ. 2006 พ.ศ. 2034 สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3
สุริยวงศาเทวี พระอัครมเหสี พ.ศ. 2034 พ.ศ. 2072 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 [9]
นางสร้อยทอง พระมเหสีซ้าย [10]
นางแว่นฟ้าทอง พระสนมเอก [10]
ไม่ปรากฏพระนาม พระมเหสี พ.ศ. 2072 พ.ศ. 2076 สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 4
มิได้สถาปนา พ.ศ. 2076 พ.ศ. 2077 สมเด็จพระรัษฎาธิราช
พระมเหสีจิตรวดี พระมเหสีขวา พ.ศ. 2077 สมเด็จพระไชยราชาธิราช [11]
นางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์ พระมเหสีซ้าย พ.ศ. 2089 [12]
มิได้สถาปนา พ.ศ. 2089 พ.ศ. 2091 สมเด็จพระยอดฟ้า
พระสุริโยทัย หรือพระมหาเทวี พระอัครมเหสี พ.ศ. 2091 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2092 สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ [13][14]
รัตนมณีเนตร พระสนมเอก [15]
ไม่มีข้อมูล พ.ศ. 2106 (ครั้งที่ 1)
พ.ศ. 2111 (ครั้งที่ 2)
พ.ศ. 2111 (ครั้งที่ 1)
พ.ศ. 2112 (ครั้งที่ 2)
สมเด็จพระมหินทราธิราช
พระนาม ตำแหน่ง ดำรงตำแหน่ง พ้นจากตำแหน่ง พระราชสวามี หมายเหตุ
พระวิสุทธิกษัตรีย์ หรือพระบรมเทวี พระมเหสี พ.ศ. 2112 พ.ศ. 2133 สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช [16][14]
พระมณีรัตนา พระมเหสี 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2133 25 เมษายน พ.ศ. 2148 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช [17]
พระเอกกษัตรี พระมเหสี พ.ศ. 2138 [18][19]
โยดะยามิบะยา หรือ มังตรานะมะโด (ไม่ปรากฏพระนาม) พระมเหสี พ.ศ. 2139 [20][21]
พระสวัสดี พระมเหสี 25 เมษายน พ.ศ. 2148 พ.ศ. 2153 สมเด็จพระเอกาทศรถ [22][23]
ไม่ปรากฏพระนาม พระมเหสี [23]
ไม่ปรากฏพระนาม พระมเหสี [23]
ไม่ปรากฏพระนาม พระมเหสี [23]
ไม่ปรากฏพระนาม พระมเหสี [23]
ไม่ปรากฏพระนาม พระมเหสี [23]
ไม่ปรากฏพระนาม พระมเหสี [23]
ไม่ปรากฏพระนาม พระมเหสี [23]
ไม่มีข้อมูล พ.ศ. 2153 พ.ศ. 2154 สมเด็จพระศรีเสาวภาคย์
พระจันทชายา พระมเหสี สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม [24][25]
พระขัตติยเทวี พระมเหสี [24][25]
พระองค์อัมฤทธิ์ พระชายา [26]
ไม่มีข้อมูล พ.ศ. 2171 พ.ศ. 2172 สมเด็จพระเชษฐาธิราช
ไม่มีข้อมูล พ.ศ. 2172 สมเด็จพระอาทิตยวงศ์
พระนาม ตำแหน่ง ดำรงตำแหน่ง พ้นจากตำแหน่ง พระราชสวามี หมายเหตุ
พระปทุมาเทวี หรือพระประทุมา พระมเหสีขวา พ.ศ. 2172 พ.ศ. 2199 สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง [25][27]
พระสุริยา พระมเหสีขวา [25][27]
พระจันทาเทวี หรือพระจันทเทวี พระมเหสีขวา [25][27]
พระสิริกัลยา หรือพระศิริกัลยา พระมเหสีขวา [25][27]
พระอุบลเทวี พระมเหสีซ้าย [25][27]
พระนภาเทวี หรือพระประภาวดี พระมเหสีซ้าย [25][27]
พระอรบุตรี หรือพระไวยบุตรี พระมเหสีซ้าย [25][27]
พระกนิษฐาเทวี พระมเหสีซ้าย [25][27]
ไม่มีข้อมูล พ.ศ. 2199 สมเด็จเจ้าฟ้าไชย
ไม่มีข้อมูล พ.ศ. 2199 สมเด็จพระศรีสุธรรมราชา
พระกษัตรีย์ พระมเหสีขวา 26 ตุลาคม พ.ศ. 2199 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช [28][29]
พระพันปี (ไม่ปรากฏพระนาม) พระมเหสีซ้าย 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2231 [28][29]
ท้าวศรีจุฬาลักษณ์ (แจ่ม) พระสนมเอก [30][31]
พระราชชายาเทวี (สมบุญ) พระสนมเอก [32]
พระนาม ตำแหน่ง ดำรงตำแหน่ง พ้นจากตำแหน่ง พระราชสวามี หมายเหตุ
พระอัครมเหสี (กัน) พระอัครมเหสีกลาง พ.ศ. 2231 พ.ศ. 2246 สมเด็จพระเพทราชา [33]
กรมหลวงโยธาทิพ พระอัครมเหสีซ้าย[33]
พระอัครมเหสีขวา[34]
[35]
กรมหลวงโยธาเทพ พระอัครมเหสีซ้าย [35][36]
สมเด็จพระพันวษา หรือ พระพันปีหลวง (ไม่ปรากฏพระนาม) พระอัครมเหสี พ.ศ. 2246 พ.ศ. 2251 สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 [37][38][39]
พระองค์รัตนา พระสนมเอก [40]
พระกรัดนางกัลยาณี หรือพระแก้วฟ้า พระมเหสีซ้าย พ.ศ. 2251 [41][42][43]
กรมหลวงราชานุรักษ์ พระอัครมเหสี พ.ศ. 2251 พ.ศ. 2275 สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 [37][38]
พระองค์เจ้าทับทิม พระอัครมเหสี [37][38][44]
เจ้าเสฐ พระมเหสีรอง [45]
พระองค์เอี้ยง พระชายา [37][38][40]
กรมหลวงอภัยนุชิต พระอัครมเหสีขวา พ.ศ. 2275 พ.ศ. 2280 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ [46][47]
กรมหลวงพิพิธมนตรี พระราชมเหสีกลาง พ.ศ. 2301 [46][47]
เจ้าฟ้าสังวาลย์ หรืออินทสุชาเทวี พระมเหสีซ้าย พ.ศ. 2298 [47][48]
เจ้าฟ้าท้าวต่อย พระอัครมเหสี พ.ศ. 2301 สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร [49]
กรมขุนวิมลพัตร พระอัครมเหสี พ.ศ. 2301 พ.ศ. 2310 สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ [50][51][52]

อาณาจักรธนบุรี

พระนาม ตำแหน่ง ดำรงตำแหน่ง พ้นจากตำแหน่ง พระราชสวามี หมายเหตุ
กรมหลวงบาทบริจา พระอัครมเหสี 28 ธันวาคม พ.ศ. 2310 6 เมษายน พ.ศ. 2325 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี
กรมบริจาภักดีศรีสุดารักษ์ พระมเหสีซ้าย [53][54]

อาณาจักรรัตนโกสินทร์

พระนาม ตำแหน่ง ดำรงตำแหน่ง พ้นจากตำแหน่ง พระราชสวามี หมายเหตุ
สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี มิได้สถาปนา 6 เมษายน พ.ศ. 2325 7 กันยายน พ.ศ. 2352 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี มิได้สถาปนา 7 กันยายน พ.ศ. 2352 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี มิได้สถาปนา ราว พ.ศ. 2358
มิได้สถาปนา 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 2 เมษายน พ.ศ. 2394 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
สมเด็จพระนางเจ้าโสมนัสวัฒนาวดี พระนางนาฏบรมอัครราชเทวี 2 มกราคม พ.ศ. 2395 10 ตุลาคม พ.ศ. 2395 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว [55]
สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี พระนางนาถราชเทวี ราว พ.ศ. 2396 9 กันยายน พ.ศ. 2404
พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณราย มิได้สถาปนา ราว พ.ศ. 2396 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทักษิณชา นราธิราชบุตรี มิได้สถาปนา ราว พ.ศ. 2415 ราว พ.ศ. 2415 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว [56]
พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์ พระอรรคชายาเธอ ราว พ.ศ. 2412−2416 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2430 [57]
พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าอุบลรัตนนารีนาค กรมขุนอรรควรราชกัลยา พระอรรคชายาเธอ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453 [58]
สมเด็จพระปิตุจฉาเจ้า สุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี พระราชเทวี ราว พ.ศ. 2420 [59]
สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า พระบรมราชเทวี ราว พ.ศ. 2421 [60]
สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี พระบรมราชเทวี 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2423 [61]
สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง พระบรมราชินีนาถ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453 [62]
พระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา พระอรรคชายาเธอ ราว พ.ศ. 2426 [63]
เจ้าดารารัศมี พระราชชายา พระราชชายา 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2430 [64]
สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายา พระวรราชชายา 12 มกราคม พ.ศ. 2464 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว [65]
พระนางเธอ ลักษมีลาวัณ พระนางเธอ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2465 [66]
พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี พระวรราชเทวี 10 สิงหาคม พ.ศ. 2467 [67]
สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี พระบรมราชินี 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2469 2 มีนาคม พ.ศ. 2478 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว [68]
มิได้อภิเษกสมรส 2 มีนาคม พ.ศ. 2478 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง พระบรมราชินีนาถ 28 เมษายน พ.ศ. 2493 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร [69]
สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี พระบรมราชินี 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ยังอยู่ในตำแหน่ง พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว [70]

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

เชิงอรรถ

  1. คำให้การชาวกรุงเก่า, พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, หน้า 475
  2. คำให้การชาวกรุงเก่า, พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, หน้า 494-495
  3. การเมืองในประวัติศาสตร์ ยุคสุโขทัย-อยุธยา พระมหาธรรมราชา กษัตราธิราช, หน้า 30-39
  4. ประวัติศาสตร์สุโขทัย, หน้า 129
  5. กรุงสุโขทัย มาจากไหน ?, หน้า 121-129
  6. การเมืองในประวัติศาสตร์ ยุคสุโขทัย-อยุธยา พระมหาธรรมราชา กษัตราธิราช, หน้า 67, 83
  7. ฟื้นฝอยหาตะเข็บ, หน้า 220
  8. การเมืองในประวัติศาสตร์ ยุคสุโขทัย-อยุธยา พระมหาธรรมราชา กษัตราธิราช, หน้า 76
  9. คำให้การชาวกรุงเก่า, พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, หน้า 485
  10. 10.0 10.1 คำให้การชาวกรุงเก่า, พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, หน้า 488
  11. คำให้การชาวกรุงเก่า, พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, หน้า 492
  12. พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, หน้า 65
  13. พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, หน้า 79
  14. 14.0 14.1 คำให้การชาวกรุงเก่า, พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, หน้า 497
  15. คำให้การชาวกรุงเก่า, พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, หน้า 503
  16. พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, หน้า 71
  17. คำให้การขุนหลวงหาวัด, พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, หน้า 705
  18. ตำนานนางกษัตริย์, หน้า 310
  19. "พระนเรศวรฯ กับเมืองละแวก ใน พงศาวดารละแวก ฉะบับแปล จ.ศ. ๑๑๗๐". I see history. 21 เมษายน 2555. สืบค้นเมื่อ 10 มิถุนายน 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  20. โคลงเรื่องมังทรารบเชียงใหม่, หน้า 14
  21. โยเดียกับราชวงศ์พม่า เรื่องจริงที่ไม่มีใครรู้, หน้า 122
  22. คำให้การขุนหลวงหาวัด (ฉบับหลวง), ประชุมคำให้การกรุงศรีอยุธยา รวม 3 เรื่อง, หน้า 335
  23. 23.0 23.1 23.2 23.3 23.4 23.5 23.6 23.7 คำให้การชาวกรุงเก่า, พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, หน้า 516
  24. 24.0 24.1 ประชุมคำให้การกรุงศรีอยุธยา รวม 3 เรื่อง, หน้า 90-91
  25. 25.00 25.01 25.02 25.03 25.04 25.05 25.06 25.07 25.08 25.09 คำให้การขุนหลวงหาวัด, พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, หน้า 711
  26. จดหมายเหตุวันวลิต. พ.ศ. 2507.
  27. 27.0 27.1 27.2 27.3 27.4 27.5 27.6 27.7 ประชุมคำให้การกรุงศรีอยุธยา รวม 3 เรื่อง, หน้า 92
  28. 28.0 28.1 พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, หน้า 525
  29. 29.0 29.1 คำให้การขุนหลวงหาวัด, พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, หน้า 716
  30. ภูธร ภูมะธน. โกษาปาน ราชทูตกู้แผ่นดิน. กรุงเทพฯ : สถาบันการเรียนรู้และสร้างสรรค์ (พิพิธภัณฑ์การเรียนรู้), 2550, หน้า 33
  31. พลับพลึง มูลศิลป์. ความสัมพันธ์ไทย-ฝรั่งเศส สมัยอยุทธยา. กรุงเทพฯ : บรรณกิจ, 2523, หน้า 110, 238
  32. คำให้การขุนหลวงหาวัด, พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, หน้า 720
  33. 33.0 33.1 พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม), หน้า 318
  34. คำให้การชาวกรุงเก่า, คำให้การขุนหลวงหาวัด และเอกสารอื่น, หน้า 540
  35. 35.0 35.1 พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม), หน้า 333
  36. คำให้การขุนหลวงหาวัด, พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, หน้า 737
  37. 37.0 37.1 37.2 37.3 คำให้การชาวกรุงเก่า, พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, หน้า 622-623
  38. 38.0 38.1 38.2 38.3 คำให้การชาวกรุงเก่า, ประชุมคำให้การกรุงศรีอยุธยา รวม 3 เรื่อง, หน้า 173
  39. คำให้การชาวกรุงเก่า, พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, หน้า 542
  40. 40.0 40.1 คำให้การขุนหลวงหาวัด (ฉบับหลวง), ประชุมคำให้การกรุงศรีอยุธยา รวม 3 เรื่อง, หน้า 455-456
  41. คำให้การขุนหลวงหาวัด, พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, หน้า 741
  42. คำให้การชาวกรุงเก่า, ประชุมคำให้การกรุงศรีอยุธยา รวม 3 เรื่อง, หน้า 112
  43. คำให้การขุนหลวง วัดประดู่ทรงธรรม, ประชุมคำให้การกรุงศรีอยุธยา รวม 3 เรื่อง, หน้า 278
  44. คำให้การขุนหลวงหาวัด (ฉบับหลวง), ประชุมคำให้การกรุงศรีอยุธยา รวม 3 เรื่อง, หน้า 448
  45. คำให้การชาวกรุงเก่า, พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, หน้า 547
  46. 46.0 46.1 พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, หน้า 356
  47. 47.0 47.1 47.2 คำให้การขุนหลวง วัดประดู่ทรงธรรม, ประชุมคำให้การกรุงศรีอยุธยา รวม 3 เรื่อง, หน้า 285
  48. คำให้การชาวกรุงเก่า, ประชุมคำให้การกรุงศรีอยุธยา รวม 3 เรื่อง, หน้า 117
  49. พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, หน้า 552
  50. ประชุมคำให้การกรุงศรีอยุธยา รวม 3 เรื่อง, หน้า 177
  51. พระราชพงศาวดาร ฉบับสมเด็จพระพนรัตน์ วัดพระเชตุพน ตรวจสอบชำระจากฉบับตัวเขียน, หน้า 340
  52. พระราชพงศาวดารพม่า, หน้า 1135
  53. จุลลดา ภักดีภูมินทร์. "พระบรมราชอนุสรณ์ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช". เด็กดีดอตคอม. สืบค้นเมื่อ 5 สิงหาคม 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  54. "พระราชวงศ์และต้นตระกูลอันเป็นเชื้อพระวงศ์ (หน้า 2)". สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. สืบค้นเมื่อ 5 สิงหาคม 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  55. คุณหญิงกุลทรัพย์ เกษแม่นกิจ และสายไหม จบกลศึก (บรรณาธิการ) (2555). ราชาศัพท์ (PDF). กรุงเทพฯ: สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี. p. 272.[ลิงก์เสีย]
  56. พระภรรยาเจ้า และสมเด็จเจ้าฟ้า ในรัชกาลที่ 5, หน้า 66-71
  57. พระภรรยาเจ้า และสมเด็จเจ้าฟ้า ในรัชกาลที่ 5, หน้า 78
  58. พระภรรยาเจ้า และสมเด็จเจ้าฟ้า ในรัชกาลที่ 5, หน้า 89
  59. พระภรรยาเจ้า และสมเด็จเจ้าฟ้า ในรัชกาลที่ 5, หน้า 103
  60. พระภรรยาเจ้า และสมเด็จเจ้าฟ้า ในรัชกาลที่ 5, หน้า 120
  61. พระภรรยาเจ้า และสมเด็จเจ้าฟ้า ในรัชกาลที่ 5, หน้า 130
  62. พระภรรยาเจ้า และสมเด็จเจ้าฟ้า ในรัชกาลที่ 5, หน้า 139
  63. พระภรรยาเจ้า และสมเด็จเจ้าฟ้า ในรัชกาลที่ 5, หน้า 229
  64. พระภรรยาเจ้า และสมเด็จเจ้าฟ้า ในรัชกาลที่ 5, หน้า 307
  65. "ประกาศ สถาปนาพระวรราชชายาเธอ พระอินทรศักดิศจี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 39 (56): 1–3. 12 มิถุนายน พ.ศ. 2465. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2011-11-10. สืบค้นเมื่อ 2019-08-13. {{cite journal}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  66. "ประกาศ สถาปนาพระนางเธอลักษมีลาวัณ" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 39 (99): 1–3. 27 สิงหาคม พ.ศ. 2465. {{cite journal}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  67. "ประกาศ สถาปนาพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 42 (192): 1–3. 11 ตุลาคม พ.ศ. 2468. {{cite journal}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  68. "ประกาศ สถาปนาสมเด็จพระบรมราชินี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 42 (372): 1–2. 3 มีนาคม พ.ศ. 2468. {{cite journal}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  69. "ประกาศ เรื่อง สถาปนาสมเด็จพระราชินี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 67 (24): 1–2. 28 เมษายน พ.ศ. 2493. {{cite journal}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  70. "ประกาศ เรื่อง สถาปนาสมเด็จพระราชินี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 136 (11): 1. 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2562. {{cite journal}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)

บรรณานุกรม

  • กนกวรรณ โสภณวิจิตร. ประวัติศาสตร์สุโขทัย. กรุงเทพฯ : สารคดี, 2554. 164 หน้า. ISBN 978-974-484-349-4
  • กิตติ วัฒนะมหาตม์. ตำนานนางกษัตริย์. กรุงเทพฯ : สร้างสรรค์บุ๊คส์, 2553. 458 หน้า. ISBN 978-974-341-666-8
  • จิรวัฒน์ อุตตมะกุล, นายแพทย์. พระภรรยาเจ้า และสมเด็จเจ้าฟ้า ในรัชกาลที่ 5. กรุงเทพฯ : ลายคำ, 2559. 600 หน้า. ISBN 978-974-9747-52-0
  • พิเศษ เจียจันทร์พงษ์. การเมืองในประวัติศาสตร์ ยุคสุโขทัย-อยุธยา พระมหาธรรมราชา กษัตราธิราช. กรุงเทพฯ : มติชน, 2553. 184 หน้า. ISBN 978-974-02-0401-5
  • พิเศษ เจียจันทร์พงษ์. ฟื้นฝอยหาตะเข็บ. กรุงเทพฯ : มติชน, 2553. 248 หน้า. ISBN 978-974-02-0490-9
  • นราธิปประพันธ์พงศ์, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระพระราชพงศาวดารพม่า. นนทบุรี : ศรีปัญญา, 2550. 1136 หน้า. ISBN 978-974-7088-10-6
  • มิคกี้ ฮาร์ท. โยเดียกับราชวงศ์พม่า เรื่องจริงที่ไม่มีใครรู้. กรุงเทพฯ : สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ, 2561. 225 หน้า. ISBN 978-974-13-3129-1
  • สุจิตต์ วงษ์เทศ. กรุงสุโขทัยมาจากไหน ?. กรุงเทพฯ : มติชน, 2548. 192 หน้า. ISBN 974-323-517-5
  • ศานติ ภักดีคำ. พระราชพงศาวดาร ฉบับสมเด็จพระพนรัตน์ วัดพระเชตุพน ฉบับตัวเขียน. พระราชพงศาวดาร ฉบับสมเด็จพระพนรัตน์ วัดพระเชตุพน ตรวจสอบชำระจากเอกสารตัวเขียน. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง, 2558. 558 หน้า. หน้า (35)-(50). ISBN 978-616-92351-0-1 [จัดพิมพ์โดยเสด็จพระราชกุศลในการพระราชทานเพลิงศพพระธรรมปัญญาบดี (ถาวร ติสฺสานุกโร ป.ธ.๔)]
  • ประชุมคำให้การกรุงศรีอยุธยา รวม 3 เรื่อง. กรุงเทพฯ : แสงดาว, 2553. 536 หน้า. ISBN 978-616-508-073-6
  • พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น. นนทบุรี : ศรีปัญญา, 2553. 800 หน้า. ISBN 978-616-7146-08-9