ข้ามไปเนื้อหา

ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2013–14

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก 2013–14
อิสตาจีอูดาลูซ สนามแข่งขันในรอบชิงชนะเลิศ
รายละเอียดการแข่งขัน
วันที่2 กรกฎาคม – 28 สิงหาคม 2556 (รอบคัดเลือก)
17 กุมภาพันธ์ 2556 – 24 พฤษภาคม 2557 (รอบแบ่งกลุ่มจนถึงรอบชิงชนะเลิศ)
ทีม32 (รอบแบ่งกลุ่ม)
76 (ทั้งหมด) (จาก 52 สมาคม)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศประเทศสเปน เรอัลมาดริด (สมัยที่ 10)
รองชนะเลิศประเทศสเปน อัตเลติโกเดมาดริด
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน124
จำนวนประตู357 (2.88 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม5,651,670 (45,578 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดประเทศโปรตุเกส คริสเตียโน โรนัลโด
(17 ประตู)

ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2013-14 (อังกฤษ: 2013–14 UEFA Champions League) เป็นการแข่งขันฟุตบอลสโมสรยุโรป ครั้งที่ 58 จัดขึ้นโดยยูฟ่า และเป้นครั้งที่ 22 ตั้งแต่เปลี่ยนชื่อการแข่งขันจากยูโรเปียนแชมเปียนคลับคัพ เป็นยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก

ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก นัดชิงชนะเลิศ 2014 จะจัดขึ้นที่อิสตาจีอูดาลูซ ในลิสบอน ประเทศโปรตุเกส[1]

และเป็นครั้งแรกที่ สโมสรที่เข้ารอบแบ่งกลุ่มจะได้เข้าร่วมการแข่งขัน ยูฟ่ายูธลีก 2013–14 ซึ่งเป็นการแข่งขันสำหรับผู้เล่นเยาวชนอายุไม่เกิน 19 ปี

การคัดเลือกสโมสร

[แก้]

76 สโมสรจาก 52 ของสมาชิกยูฟ่า จำนวน 54 ประเทศ จะได้เข้าร่วมการแข่งขันยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2013-14 (ยกเว้นลิกเตนสไตน์ ซึ่งไม่ได้จัดการแข่งขันลีก และยิบรอลตาร์ ซึ่งจะได้เข้าร่วมการแข่งขันในฤดูกาล 2014–15 โดยได้รับการเพิ่มเข้าเป็นสมาชิกยูฟ่าในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2556)[2][3] โดยจะจัดอันดับแต่ละประเทศสำหรับจำนวนของสโมสรที่จะได้เข้าร่วมการแข่งขัน ดังนี้[4]

  • สมาคมอันดับที่ 1–3 จะได้สโมสรเข้าร่วมการแข่งขัน 4 สโมสร
  • สมาคมอันดับที่ 4–6 จะได้สโมสรเข้าร่วมการแข่งขัน 3 สโมสร
  • สมาคมอันดับที่ 7–15 จะได้สโมสรเข้าร่วมการแข่งขัน 2 สโมสร
  • สมาคมอันดับที่ 16–53 (ยกเว้นลิกเตนสไตน์) จะได้สโมสรเข้าร่วมการแข่งขัน 1 สโมสร

สโมสรที่ชนะเลิศการแข่งขันยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2012–13 จะได้เข้าร่วมการแข่งขันโดยอัตโนมัติ แม้ว่าจะไม่ได้การคัดเลือกจากการแข่งขันลีกในประเทศของสโมสรนั้น

การจัดอันดับสมาคมฟุตบอล

[แก้]

การแข่งขันยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2013–14 จัดตามการจัดอันดับค่าสัมประสิทธิ์ยูฟ่า ในปี พ.ศ. 2555 (ค.ศ. 2012) ซึ่งคำนวณจากการแข่งขันตั้งแต่ฤดูกาล 2007–08 ถึง 2011–12[5][6]

อันดับที่ สมาคม ค่าสัมประสิทธิ์ สโมสร
1 ประเทศอังกฤษ อังกฤษ 84.410 4
2 ประเทศสเปน สเปน 84.186
3 ประเทศเยอรมนี เยอรมนี 75.186
4 ประเทศอิตาลี อิตาลี 59.981 3
5 ประเทศโปรตุเกส โปรตุเกส 55.346
6 ประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 54.178
7 ประเทศรัสเซีย รัสเซีย 47.832 2
8 ประเทศเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ 45.515
9 ประเทศยูเครน ยูเครน 45.133
10 ประเทศกรีซ กรีซ 37.100
11 ประเทศตุรกี ตุรกี 34.050
12 ประเทศเบลเยียม เบลเยียม 32.400
13 ประเทศเดนมาร์ก เดนมาร์ก 27.525
14 ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ 26.800
15 ประเทศออสเตรีย ออสเตรีย 26.325
16 ประเทศไซปรัส ไซปรัส 25.499 1
17 ประเทศอิสราเอล อิสราเอล 22.000
18 ประเทศสกอตแลนด์ สกอตแลนด์ 21.141
อันดับที่ สมาคม ค่าสัมประสิทธิ์ สโมสร
19 ประเทศเช็กเกีย สาธารณรัฐเช็ก 20.350 1
20 ประเทศโปแลนด์ โปแลนด์ 19.916
21 ประเทศโครเอเชีย โครเอเชีย 18.874
22 ประเทศโรมาเนีย โรมาเนีย 18.824
23 ประเทศเบลารุส เบลารุส 18.208
24 ประเทศสวีเดน สวีเดน 15.900
25 ประเทศสโลวาเกีย สโลวาเกีย 14.874
26 ประเทศนอร์เวย์ นอร์เวย์ 14.675
27 ประเทศเซอร์เบีย เซอร์เบีย 14.250
28 ประเทศบัลแกเรีย บัลแกเรีย 14.250
29 ประเทศฮังการี ฮังการี 9.750
30 ประเทศฟินแลนด์ ฟินแลนด์ 9.133
31 ประเทศจอร์เจีย จอร์เจีย 8.666
32 ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา 8.416
33 สาธารณรัฐไอร์แลนด์ สาธารณรัฐไอร์แลนด์ 7.375
34 ประเทศสโลวีเนีย สโลวีเนีย 7.124
35 ประเทศลิทัวเนีย ลิทัวเนีย 6.875
36 ประเทศมอลโดวา มอลโดวา 6.749
อันดับที่ สมาคม ค่าสัมประสิทธิ์ สโมสร
37 ประเทศอาเซอร์ไบจาน อาเซอร์ไบจาน 6.207 1
38 ประเทศลัตเวีย ลัตเวีย 5.874
39 มาซิโดเนียเหนือ มาซิโดเนีย 5.666
40 ประเทศคาซัคสถาน คาซัคสถาน 5.333
41 ไอซ์แลนด์ ไอซ์แลนด์ 5.332
42 ประเทศมอนเตเนโกร มอนเตเนโกร 4.375
43 ประเทศลีชเทินชไตน์ ลิกเตนสไตน์ 4.000 0
44 ประเทศแอลเบเนีย แอลเบเนีย 3.916 1
45 ประเทศมอลตา มอลตา 3.083
46 ประเทศเวลส์ เวลส์ 2.749
47 ประเทศเอสโตเนีย เอสโตเนีย 2.666
48 ไอร์แลนด์เหนือ ไอร์แลนด์เหนือ 2.583
49 ประเทศลักเซมเบิร์ก ลักเซมเบิร์ก 2.333
50 ประเทศอาร์มีเนีย อาร์มีเนีย 2.208
51 หมู่เกาะแฟโร หมู่เกาะแฟโร 1.416
52 ประเทศอันดอร์รา อันดอร์รา 1.000
53 ประเทศซานมารีโน ซานมาริโน 0.916
54 ยิบรอลตาร์ ยิบรอลตาร์ 0.000 0

การแบ่งสโมสรในการแข่งขัน

[แก้]

ตั้งแต่บาเยิร์นมิวนิก ชนะเลิศการแข่งขันฤดูกาลก่อน ทำให้สโมสรหลายสโมสร ที่จะได้สิทธิ์ในการเลื่อนขึ้นมาเล่นรอบที่สูงกว่า ดังนี้ :[7][8]

  • สโมสรที่ชนะเลิศลีกของสมาคมฟุตบอลประเทศที่ 13 (เดนมาร์ก) เลื่อนจากรอบคัดเลือกรอบสาม เป็นรอบแบ่งกลุ่ม
  • สโมสรที่ชนะเลิศลีกของสมาคมฟุตบอลประเทศที่ 16 (ไซปรัส) เลื่อนจากรอบคัดเลือกรอบสอง เป็นรอบคัดเลือกรอบสาม
  • สโมสรที่ชนะเลิศลีกของสมาคมฟุตบอลประเทศที่ 48 (ไอร์แลนด์เหนือ) และ 49 (ลักเซมเบิร์ก) เลื่อนจากรอบคัดเลือกรอบแรก เป็นรอบคัดเลือกรอบสอง
สโมสรที่ลงเล่นในรอบนี้ สโมสรที่ผ่านเข้ารอบจากรอบก่อนหน้า
รอบคัดเลือกรอบแรก
(4 สโมสร)
  • 4 สโมสรที่เป็นแชมป์จากสมาคมประเทศที่สโมสรที่เป็นแชมป์จากสมาคมประเทศที่ 50–53
รอบคัดเลือกรอบสอง
(34 สโมสร)
  • 32 สโมสรที่เป็นแชมป์จากสมาคมประเทศที่ 17–49 (ยกเว้นลิกเตนสไตน์)
  • 2 สโมสรที่ชนะจากรอบคัดเลือกรอบแรก
รอบคัดเลือกรอบสาม แชมป์
(20 สโมสร)
  • 3 สโมสรที่เป็นแชมป์จากสมาคมประเทศที่ 14–16
  • 17 สโมสรที่ชนะจากรอบคัดเลือกรอบสอง
ไม่ใช่แชมป์
(10 สโมสร)
  • 9 สโมสรรองแชมป์จากสมาคมประเทศที่ 7–15
  • 1 สโมสรอันดับที่ 3 จากสมาคมประเทศที่ 6
รอบเพลย์ออฟ แชมป์
(10 สโมสร)
  • 10 สโมสรที่เป็นแชมป์ และชนะจากรอบคัดเลือกรอบสาม
ไม่ใช่แชมป์
(10 สโมสร)
  • 2 สโมสรอันดับที่ 3 จากสมาคมประเทศที่ 4–5
  • 3 สโมสรอันดับที่ 4 จากสมาคมประเทศที่ 1–3
  • 5 สโมสรที่ไม่ใช่แชมป์ และชนะจากรอบคัดเลือกรอบสาม
รอบแบ่งกลุ่ม
(32 สโมสร)
  • 13 สโมสรที่เป็นแชมป์จากสมาคมประเทศที่ 1–13
  • 6 สโมสรรองแชมป์จากสมาคมประเทศที่ 1–6
  • 3 สโมสรอันดับที่ 3 จากสมาคมประเทศที่ 1–3
  • 5 สโมสรที่เป็นแชมป์ และชนะจากรอบเพลย์ออฟ
  • 5 สโมสรที่ไม่ใช่แชมป์ และชนะจากรอบเพลย์ออฟ
รอบแพ้คัดออก (รอบน็อกเอาต์)
(16 สโมสร)
  • 8 สโมสรที่เป็นแชมป์ของกลุ่มจากรอบแบ่งกลุ่ม
  • 8 สโมสรอันดับที่ 2 ของกลุ่มจากรอบแบ่งกลุ่ม

สโมสร

[แก้]

ตำแหน่งที่จบฤดูกาลในลีกฤดูกาลก่อนหน้า แสดงอยู่ในวงเล็บ และ TH คือสโมสรที่ชนะเลิศยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาลก่อนหน้า[9][10]

รอบแบ่งกลุ่ม
ประเทศเยอรมนี บาเยิร์นมิวนิก (TH/อันดับที่ 1) ประเทศสเปน อัตเลติโกเดมาดริด (อันดับที่ 3) ประเทศโปรตุเกส ไบฟีกา (อันดับที่ 2) ประเทศยูเครน ชัคตาร์โดเนตสค์ (อันดับที่ 1)
ประเทศอังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด (อันดับที่ 1) ประเทศเยอรมนี โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ (อันดับที่ 2) ประเทศฝรั่งเศส ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง (อันดับที่ 1) ประเทศกรีซ โอลิมเปียกอส (อันดับที่ 1)
ประเทศอังกฤษ แมนเชสเตอร์ซิตี (อันดับที่ 2) ประเทศเยอรมนี ไบเออร์เลเวอร์คูเซน (อันดับที่ 3) ประเทศฝรั่งเศส มาร์แซย์ (อันดับที่ 2) ประเทศตุรกี กาลาทาซาไร (อันดับที่ 1)
ประเทศอังกฤษ เชลซี (อันดับที่ 3) ประเทศอิตาลี ยูเวนตุส (อันดับที่ 1) ประเทศรัสเซีย ซีเอสเคเอมอสโก (อันดับที่ 1) ประเทศเบลเยียม อันเดอร์เลชต์ (อันดับที่ 1)
ประเทศสเปน บาร์เซโลนา (อันดับที่ 1) ประเทศอิตาลี นาโปลี (อันดับที่ 2) ประเทศเนเธอร์แลนด์ อาแจ็กซ์ (อันดับที่ 1) ประเทศเดนมาร์ก โคเปนเฮเกน (อันดับที่ 1)
ประเทศสเปน เรอัลมาดริด (อันดับที่ 2) ประเทศโปรตุเกส โปร์ตู (อันดับที่ 1)
รอบเพลย์ออฟ
แชมป์ ไม่ใช่แชมป์
ประเทศอังกฤษ อาร์เซนอล (อันดับที่ 4) ประเทศเยอรมนี ชัลเคอ 04 (อันดับที่ 4) ประเทศโปรตุเกส ปากอสจีเฟร์ไรรา (อันดับที่ 3)
ประเทศสเปน เรอัลโซเซียดัด (อันดับที่ 4) ประเทศอิตาลี มิลาน (อันดับที่ 3)
รอบคัดเลือกรอบสาม
แชมป์ ไม่ใช่แชมป์
ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ บาเซิล (อันดับที่ 1) ประเทศฝรั่งเศส ลียง (อันดับที่ 3) ประเทศกรีซ พีเอโอเค (อันดับที่ 2) ประเทศเดนมาร์ก นอร์ดเยลันด์ (อันดับที่ 2)
ประเทศออสเตรีย ออสเตรียเวียนนา (อันดับที่ 1) ประเทศรัสเซีย เซนิตเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก (อันดับที่ 2) ประเทศตุรกี เฟแนร์บาห์แช (อันดับที่ 2)[Note TUR] ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ กลาสฮอปเปอร์ (อันดับที่ 2)
ประเทศไซปรัส อาโปเอล (อันดับที่ 1) ประเทศเนเธอร์แลนด์ เพเยสเฟไอน์โฮเฟน (อันดับที่ 2) ประเทศเบลเยียม ซูลเตวาเรเยม (อันดับที่ 2) ประเทศออสเตรีย เรดบูลล์ซัลซ์บวร์ก (อันดับที่ 2)
ประเทศยูเครน เมตาลิสต์คาร์คิฟ (อันดับที่ 2)
รอบคัดเลือกรอบสอง
ประเทศอิสราเอล มัคคาบีเทลอาฟิฟ (อันดับที่ 1) ประเทศสโลวาเกีย สลอวานบราติสลาวา (อันดับที่ 1) สาธารณรัฐไอร์แลนด์ สลีโกโรเวอส์ (อันดับที่ 1) ไอซ์แลนด์ ฟิมเลย์กาเฟลักฮัฟนาร์ฟยาลาร์ (อันดับที่ 1)
ประเทศสกอตแลนด์ เซลติก (อันดับที่ 1) ประเทศนอร์เวย์ โมลเด (อันดับที่ 1) ประเทศสโลวีเนีย มารีบอร์ (อันดับที่ 1) ประเทศมอนเตเนโกร ซุตเยสกานิกซิช (อันดับที่ 1)
ประเทศเช็กเกีย วิกตอเรียเพลเซน (อันดับที่ 1) ประเทศเซอร์เบีย พาร์ตีซาน (อันดับที่ 1) ประเทศลิทัวเนีย เอครานาส (อันดับที่ 1) ประเทศแอลเบเนีย ซเคนเดอร์เบวคอร์เซ (อันดับที่ 1)
ประเทศโปแลนด์ เลเกียวอร์ซอ (อันดับที่ 1) ประเทศบัลแกเรีย ลูโดโกเรตส์รัซกราด (อันดับที่ 1) ประเทศมอลโดวา เชริฟฟ์ทีรัสโพล (อันดับที่ 1) ประเทศมอลตา เบอร์เคอร์คารา (อันดับที่ 1)
ประเทศโครเอเชีย ดีนาโมซาเกรบ (อันดับที่ 1) ประเทศฮังการี กยอร์ (อันดับที่ 1) ประเทศอาเซอร์ไบจาน เนฟต์ชีบากู (อันดับที่ 1) ประเทศเวลส์ เดอะนิวเซนส์ (อันดับที่ 1)
ประเทศโรมาเนีย สเตอัวบูคูเรสตี (อันดับที่ 1) ประเทศฟินแลนด์ เฮลซิงกินยัลคาพาลโลคลูบี (อันดับที่ 1) ประเทศลัตเวีย ดัวกาวาดัวกัฟพิลส์ (อันดับที่ 1) ประเทศเอสโตเนีย นอมเนคัลยู (อันดับที่ 1)
ประเทศเบลารุส บาเตโบรีโซฟ (อันดับที่ 1) ประเทศจอร์เจีย ดีนาโมบีลีซี (อันดับที่ 1) มาซิโดเนียเหนือ วาร์ดาร์ (อันดับที่ 1) ไอร์แลนด์เหนือ คลิฟตอนวิลล์ (อันดับที่ 1)
ประเทศสวีเดน เอลฟ์สบอร์ก (อันดับที่ 1) ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา เซลเยซนีการ์ (อันดับที่ 1) ประเทศคาซัคสถาน ชัคตาร์คารากันดี (อันดับที่ 1) ประเทศลักเซมเบิร์ก โฟลาเอสช์ (อันดับที่ 1)
รอบคัดเลือกรอบแรก
ประเทศอาร์มีเนีย ชีรัค (อันดับที่ 1) หมู่เกาะแฟโร อีบีสเตรย์เมอร์ (อันดับที่ 1) ประเทศอันดอร์รา ลูซีตานอส (อันดับที่ 1) ประเทศซานมารีโน เทรเพนเน (อันดับที่ 1)

วันแข่งขันในแต่ละรอบ

[แก้]

การจับสลากทั้งหมดจัดขึ้นที่สำนักงานใหญ่ของยูฟ่า ในเมืองนียง ประเทศสวิตเซอร์แลนด์[7]

การแข่งขัน รอบ วันจับสลาก นัดแรก นัดที่สอง
รอบคัดเลือก รอบคัดเลือกรอบแรก 24 มิถุนายน 2556 2–3 กรกฎาคม 2556 9–10 กรกฎาคม 2556
รอบคัดเลือกรอบสอง 16–17 กรกฎาคม 2556 23–24 กรกฎาคม 2556
รอบคัดเลือกรอบสาม 19 กรกฎาคม 2556 30–31 กรกฎาคม 2556 6–7 สิงหาคม 2556
เพลย์ออฟ รอบเพลย์ออฟ 9 สิงหาคม 2556 20–21 สิงหาคม 2556 27–28 สิงหาคม 2556
รอบแบ่งกลุ่ม นัดที่ 1 29 สิงหาคม 2556
(ประเทศโมนาโก)
17–18 กันยายน 2556
นัดที่ 2 1–2 ตุลาคม 2556
นัดที่ 3 22–23 ตุลาคม 2556
นัดที่ 4 5–6 พฤศจิกายน 2556
นัดที่ 5 26–27 พฤศจิกายน 2556
นัดที่ 6 10–11 ธันวาคม 2556
รอบแพ้คัดออก รอบ 16 ทีมสุดท้าย 13 ธันวาคม 2556 18–19 และ 25–26 กุมภาพันธ์ 2557 11–12 และ 18–19 มีนาคม 2557
รอบ 8 ทีมสุดท้าย 21 มีนาคม 2557 1–2 เมษายน 2557 8–9 เมษายน 2557
รอบรองชนะเลิศ 11 เมษายน 2557 22–23 เมษายน 2557 29–30 เมษายน 2557
รอบชิงชนะเลิศ 24 พฤษภาคม 2557 ที่ อิสตาจีอูดาลูซ, ลิสบอน

รอบคัดเลือก

[แก้]

ในรอบคัดเลือก และรอบเพลย์ออฟ สโมสรจะจัดกับคู่แข่งโดยค่าสัมประสิทธ์ยูฟ่า 2013[11][12][13] โดยจะแข่งขันกัน 2 นัด แบบเหย้า–เยือน ซึ่งสโมสรจากสมาคมเดียวกันจะไม่สามารถแข่งกันเองได้

รอบคัดเลือกรอบแรก

[แก้]

รอบคัดเลือกรอบแรก และรอบสอง มีการจับฉลากการแข่งขันในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2556[14] โดยนัดแรกเล่นในวันที่ 2 กรกฎาคม และนัดที่สอง เล่นในวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
ชีรัค ประเทศอาร์มีเนีย 3–1 ประเทศซานมารีโน เทรเพนเน 3–0 0–1
ลูซีตานอส ประเทศอันดอร์รา 3–7 หมู่เกาะแฟโร อีบีสเตรย์เมอร์ 2–2 1–5

รอบคัดเลือกรอบสอง

[แก้]

การแข่งขันนัดแรก เล่นในวันที่ 16 และ 17 กรกฎาคม และนัดที่สอง ในวันที่ 23 และ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
เนฟต์ชีบากู ประเทศอาเซอร์ไบจาน 0–1 ประเทศแอลเบเนีย ซเคนเดอร์เบวคอร์เซ 0–0 0–1
(ต่อเวลา)
สเตอัวบูคูเรสตี ประเทศโรมาเนีย 5–1 มาซิโดเนียเหนือ วาร์ดาร์ 3–0 2–1
วิกตอเรียเพลเซน ประเทศเช็กเกีย 6–4 ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา เซลเยซนีการ์ 4–3 2–1
เชริฟฟ์ทีรัสโพล ประเทศมอลโดวา 6–1 ประเทศมอนเตเนโกร ซุตเยสกานิกซิช 1–1 5–0
เบอร์เคอร์คารา ประเทศมอลตา 0–2 ประเทศสโลวีเนีย มารีบอร์ 0–0 0–2
สลีโกโรเวอส์ สาธารณรัฐไอร์แลนด์ 0–3 ประเทศนอร์เวย์ โมลเด 0–1 0–2
เอลฟ์สบอร์ก ประเทศสวีเดน 11–1 ประเทศลัตเวีย ดัวกาวาดัวกัฟพิลส์ 7–1 4–0
เฮลซิงกินยัลคาพาลโลคลูบี ประเทศฟินแลนด์ 1–2 ประเทศเอสโตเนีย นอมเนคัลยู 0–0 1–2
เอครานาส ประเทศลิทัวเนีย 1–3 ไอซ์แลนด์ ฟิมเลย์กาเฟลักฮัฟนาร์ฟยาลาร์ 0–1 1–2
เดอะนิวเซนส์ ประเทศเวลส์ 1–4 ประเทศโปแลนด์ เลเกียวอร์ซอ 1–3 0–1
คลิฟตอนวิลล์ ไอร์แลนด์เหนือ 0–5[A] ประเทศสกอตแลนด์ เซลติก 0–3 0–2
โฟลาเอสช์ ประเทศลักเซมเบิร์ก 0–6[A] ประเทศโครเอเชีย ดีนาโมซาเกรบ 0–5 0–1
กยอร์ ประเทศฮังการี 1–4 ประเทศอิสราเอล มัคคาบีเทลอาฟิฟ 0–2 1–2
บาเตโบรีโซฟ ประเทศเบลารุส 0–2 ประเทศคาซัคสถาน ชัคตาร์คารากันดี 0–1 0–1
ชีรัค ประเทศอาร์มีเนีย 1–1[B] ประเทศเซอร์เบีย พาร์ตีซาน 1–1 0–0
สลอวานบราติสลาวา ประเทศสโลวาเกีย 2–4 ประเทศบัลแกเรีย ลูโดโกเรตส์รัซกราด 2–1 0–3
ดีนาโมทบีลีซี ประเทศจอร์เจีย 9–2 หมู่เกาะแฟโร อีบีสเตรย์เมอร์ 6–1 3–1
หมายเหตุ
  1. ^ a b
    มีการเปลี่ยนแปลงนัดการแข่งขัน
  2. ^
    ชนะการแข่งขันด้วยกฎยิงประตูในการเป็นทีมเยือน

รอบคัดเลือกรอบสาม

[แก้]

รอบคัดเลือกรอบสามนี้ จะแบ่งเป็น 2 เส้นทาง คือ เส้นทางแชมเปียนส์ (ทีมที่ชนะจากรอบที่แล้ว) และ เส้นทางลีก (ทีมที่ได้คัดเลือกมาจากการแข่งขันลีกภายในประเทศ) โดยผู้ชนะ จะได้เข้ารอบต่อ ส่วนผู้แพ้ จะไปลงเล่นใน ยูฟ่ายูโรปาลีก 2013-14 รอบแบ่งกลุ่ม นัดแรกเล่นในวันที่ 30 และ 31 กรกฎาคม และนัดที่สองในวันที่ 6 และ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2556

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
เส้นทางแชมเปี้ยนส์
บาเซิล ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ 4–3 ประเทศอิสราเอล มัคคาบี เทล อาวีฟ 1–0 3–3
โมลเด ประเทศนอร์เวย์ 1–1 (a) ประเทศโปแลนด์ ลีเกีย วอร์ซอว์ 1–1 0–0
ลูโดโกเรตส์รัซกราด ประเทศบัลแกเรีย 3–1 ประเทศเซอร์เบีย พาร์ตีซาน 2–1 1–0
ดีนาโมทบีลีซี ประเทศจอร์เจีย 1–3 ประเทศโรมาเนีย สเตอัวบูคูเรสตี 0–2 1–1
อาโปเอล ประเทศไซปรัส 1–1 (a) ประเทศสโลวีเนีย มารีบอร์ 1–1 0–0
เซลติก ประเทศสกอตแลนด์ 1–0 ประเทศสวีเดน เอลฟ์สบอร์ก 1–0 0–0
ชัคตาร์คารากันดี ประเทศคาซัคสถาน 5–3 ประเทศแอลเบเนีย ซเคนเดอร์เบวคอร์เซ 3–0 2–3
ออสเตรีย เวียนนา ประเทศออสเตรีย 1–0 ไอซ์แลนด์ เอฟเอช 1–0 0–0
นอมเม คัลจู ประเทศเอสโตเนีย 2–10 ประเทศเช็กเกีย วิกตอเรีย พิลเซน 0–4 2–6
ดินาโม ซาเกร็บ ประเทศโครเอเชีย 4–0 ประเทศมอลโดวา เชริฟฟ์ ตีราสโพล 1–0 3–0
เส้นทางลีก
นอร์ดเชลลันด์ ประเทศเดนมาร์ก 0–6 ประเทศรัสเซีย เซนิต เซนต์ ปีเตอร์สเบิร์ก 0–1 0–5
เรด บูลล์ ซัลซ์บวร์ก ประเทศออสเตรีย 2–4 ประเทศตุรกี เฟแนร์บาห์แช 1–1 1–3
พีเอโอเค ประเทศกรีซ 1–3 ประเทศยูเครน เมตาลิสต์ คาร์คีฟ 0–2 1–1
พีเอสวี ไอนด์โอเฟน ประเทศเนเธอร์แลนด์ 5–0 ประเทศเบลเยียม ซุลเต วาเรเกม 2–0 3–0
ลียง ประเทศฝรั่งเศส 2–0 ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ กราสฮอปเปอร์ 1–0 1–0

รอบเพลย์-ออฟ

[แก้]

รอบเพลย์ออฟนี้ จะแบ่งเป็น 2 เส้นทาง คือ เส้นทางแชมเปียนส์ (ทีมที่ชนะจากรอบที่แล้ว) และ เส้นทางลีก (ทีมที่ได้คัดเลือกมาจากการแข่งขันลีกภายในประเทศ) โดยผู้ชนะจะได้ผ่านเข้ารอบต่อไป ส่วนผู้แพ้จะไปลงเล่นใน ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2013-14 รอบแบ่งกลุ่ม การแข่งขันนัดแรก เล่นในวันที่ 20 และ 21 สิงหาคม และนัดที่สอง ในวันที่ 27 และ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2556

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
เส้นทางแชมเปี้ยนส์
ดินาโม ซาเกร็บ ประเทศโครเอเชีย 3–4 ประเทศออสเตรีย ออสเตรีย เวียนนา 0–2 3–2
ลูโดโกเรตส์รัซกราด ประเทศบัลแกเรีย 2–6 ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ บาเซิล 2–4 0–2
วิกตอเรีย พิลเซน ประเทศเช็กเกีย 4–1 ประเทศสโลวีเนีย มารีบอร์ 3–1 1–0
ชัคตาร์คารากันดี ประเทศคาซัคสถาน 2–3 ประเทศสกอตแลนด์ เซลติก 2–0 0–3
สเตอัวบูคูเรสตี ประเทศโรมาเนีย 3–3 (a) ประเทศโปแลนด์ ลีเกีย วอร์ซอว์ 1–1 2–2
เส้นทางลีก
ลียง ประเทศฝรั่งเศส 0–4 ประเทศสเปน เรอัล โซเซียดาด 0–2 0–2
ชัลเคอ 04 ประเทศเยอรมนี 4–3 ประเทศกรีซ พีเอโอเค 1–1 3–2
ปากอส เด เฟอร์เรรา ประเทศโปรตุเกส 3–8 ประเทศรัสเซีย เซนิต เซนต์ ปีเตอร์สเบิร์ก 1–4 2–4
พีเอสวี ไอนด์โอเฟน ประเทศเนเธอร์แลนด์ 1–4 ประเทศอิตาลี เอซี มิลาน 1–1 0–3
เฟแนร์บาห์แช ประเทศตุรกี 0–5 ประเทศอังกฤษ อาร์เซนอล 0–3 0–2

รอบแบ่งกลุ่ม

[แก้]

32 ทีมที่จะเล่นในรอบแบ่งกลุ่ม โดยจะมี 10 ทีมที่เข้ามาจากรอบเพลย์ออฟ และอีก 22 ทีมที่เข้ารอบโดยอัตโนมัติ โดยการจับสลากประกบคู่ในรอบแบ่งกลุ่มมีขึ้นเมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2556 ที่ราชรัฐโมนาโก

โดย 32 ทีมนี้จะถูกจัดใน 8 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ทีม ซึ่งแชมป์ของกลุ่มและอันดับที่ 2 ของกลุ่มจะเข้ารอบ 16 ทีมสุดท้าย ส่วนอันดับที่ 3 จะได้เข้าร่วมแข่งขัน ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2013-14 รอบแบ่งกลุ่ม

ความหมายของสัญลักษณ์สี
แชมป์กลุ่มและทีมอันดับที่ 2 ของกลุ่ม จะได้ผ่านเข้าไปเล่นในรอบ 16 ทีมสุดท้าย
ทีมอันดับที่ 3 จะได้ไปเล่น ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2013-14 รอบ 32 ทีมสุดท้าย
ทีมตกรอบจากการแข่งขันระดับสโมสรยุโรป

กลุ่ม A

[แก้]
ทีม Pld W D L GF GA GD Pts
ประเทศอังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 6 4 2 0 12 3 +4 14
ประเทศเยอรมนี ไบเออร์ เลเวอร์คูเซน 6 3 1 2 9 10 –1 10
ประเทศยูเครน ชัคห์ตาร์ โดเนตสค์ 6 2 2 2 7 6 +1 8
ประเทศสเปน เรอัล โซเซียดัด 6 0 1 5 1 10 –9 1
  LEV MU RSO SHA
ไบเออร์ เลเวอร์คูเซน 0–5 2–1 4–0
แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 4–2 1–0 1–0
เรอัล โซเซียดัด 0–1 0–0 0–2
ชัคตาร์ โดเนตสค์ 0–0 1–1 4–0

กลุ่ม B

[แก้]
ทีม Pld W D L GF GA GD Pts
ประเทศสเปน เรอัลมาดริด 6 5 1 0 20 5 +15 16
ประเทศตุรกี กาลาทาซาไร 6 2 1 3 8 14 –6 7
ประเทศอิตาลี ยูเวนตุส 6 1 3 2 9 9 0 6
ประเทศเดนมาร์ก โคเปนเฮเกน 6 1 1 4 4 13 –9 4
  KOB GAL JUV RM
โคเปนเฮเกน 1–0 1–1 0–2
กาลาทาซาไร 3–1 1–0 1–6
ยูเวนตุส 3–1 2–2 2–2
เรอัลมาดริด 4–0 4–1 2–1

กลุ่ม C

[แก้]
ทีม Pld W D L GF GA GD Pts
ประเทศฝรั่งเศส ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 6 4 1 1 16 5 +11 13
ประเทศกรีซ โอลิมเปียกอส 6 3 1 2 10 8 +2 10
ประเทศโปรตุเกส เบนฟิก้า 6 3 1 2 8 8 0 10
ประเทศเบลเยียม อันเดอร์เลชท์ 6 0 1 5 4 17 –13 1
  AND BEN OLY PSG
อันเดอร์เลชท์ 2–3 0–3 0–5
เบนฟิก้า 2–0 1–1 2–1
โอลิมเปียกอส 3–1 1–0 1–4
ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 1–1 3–0 2–1

กลุ่ม D

[แก้]
ทีม Pld W D L GF GA GD Pts
ประเทศเยอรมนี บาเยิร์นมิวนิก 6 5 0 1 17 5 +12 15
ประเทศอังกฤษ แมนเชสเตอร์ซิตี 6 5 0 1 18 10 +8 15
ประเทศเช็กเกีย วิกตอเรีย พิลเซน 6 1 0 5 6 17 –11 3
ประเทศรัสเซีย ซีเอสเคเอ มอสโก 6 1 0 5 8 17 –9 3
  BAY CSK MC PLZ
บาเยิร์นมิวนิก 3–0 2–3 5–0
ซีเอสเคเอ มอสโก 1–3 1–2 3–2
แมนเชสเตอร์ซิตี 1–3 5–2 4–2
วิกตอเรีย พิลเซน 0–1 2–1 0–3

กลุ่ม E

[แก้]
ทีม Pld W D L GF GA GD Pts
ประเทศอังกฤษ เชลซี 6 4 0 2 12 3 +9 12
ประเทศเยอรมนี ชัลเคอ 04 6 3 1 2 6 6 0 10
ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ บาเซิล 6 2 2 2 5 6 –1 8
ประเทศโรมาเนีย สเตอัว บูคาเรสต์ 6 0 3 3 2 10 –8 3
  BAS CHE SCH STE
บาเซิล 1–0 0–1 1–1
เชลซี 1–2 3–0 1–0
ชัลเคอ 04 2–0 0–3 3–0
สเตอัว บูคาเรสต์ 1–1 0–4 0–0

กลุ่ม F

[แก้]
ทีม Pld W D L GF GA GD Pts
ประเทศเยอรมนี โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ 6 4 0 2 11 6 +5 12
ประเทศอังกฤษ อาร์เซนอล 6 4 0 2 8 5 +3 12
ประเทศอิตาลี นาโปลี 6 4 0 2 10 9 +1 12
ประเทศฝรั่งเศส มาร์กเซย 6 0 0 6 5 14 –9 0
  ARS DOR MAR NAP
อาร์เซนอล 1–2 2–0 2–0
โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ 0–1 3–0 3–1
มาร์กเซย 1–2 1–2 1–2
นาโปลี 2–0 2–1 3–2

กลุ่ม G

[แก้]
ทีม Pld W D L GF GA GD Pts
ประเทศสเปน อัตเลติโกเดมาดริด 6 5 1 0 15 3 +12 16
ประเทศรัสเซีย เซนิตเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก 6 1 3 2 5 9 –4 6
ประเทศโปรตุเกส ปอร์โต้ 6 1 2 3 4 7 –3 5
ประเทศออสเตรีย ออสเตรีย เวียนนา 6 1 2 3 5 10 –5 5
  ATL AUS POR ZEN
อัตเลติโกเดมาดริด 4–0 2–0 3–1
ออสเตรีย เวียนนา 0–3 0–1 4–1
ปอร์โต้ 1–2 1–1 0–1
เซนิตเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก 1–1 0–0 1–1


กลุ่ม H

[แก้]
ทีม Pld W D L GF GA GD Pts
ประเทศสเปน บาร์เซโลนา 6 4 1 1 16 5 +11 13
ประเทศอิตาลี มิลาน 6 2 3 1 8 5 +3 9
ประเทศเนเธอร์แลนด์ อาแจ็กซ์ อัมสเตอร์ดัม 6 2 2 2 5 8 –3 8
ประเทศสกอตแลนด์ เซลติก 6 1 0 5 3 14 –11 3
  AJA BAR CEL ACM
อาแจ็กซ์ 2–1 1–0 1–1
บาร์เซโลนา 4–0 6–1 3–1
เซลติก 2–1 0–1 0–3
มิลาน 0–0 1–1 2–0

รอบน็อกเอาต์

[แก้]

ในรอบแพ้คัดออก หรือรอบน็อกเอาต์ แต่ละทีมจะเล่น 2 นัด โดยแบ่งเป็นเหย้าและเยือน ส่วนนัดชิงชนะเลิศจะเล่นเพียงนัดเดียว ในการจับสลากแบ่งสายของรอบ 16 ทีมสุดท้าย จะนำทีมอันดับที่ 1 ของแต่ละกลุ่ม มาพบกับทีมอันดับที่ 2 ของแต่ละกลุ่ม โดยทีมอันดับที่ 2 ของแต่ละกลุ่มนั้นจะได้เล่นเป็นเจ้าบ้านก่อน ส่วนรอบ 8 ทีมสุดท้ายจะไม่มีการจับสลากแบ่งสาย แต่จะเป็นการเข้ารอบมาพบกันเอง

ทีมที่ผ่านเข้ารอบ

[แก้]
ความหมายของสี
แชมป์กลุ่ม
รองแชมป์กลุ่ม
กลุ่ม แชมป์กลุ่ม รองแชมป์กลุ่ม
A ประเทศอังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด ประเทศเยอรมนี ไบเออร์ เลเวอร์คูเซน
B ประเทศสเปน เรอัลมาดริด ประเทศตุรกี กาลาทาซาไร
C ประเทศฝรั่งเศส ปารี แซ็ง-แฌร์แม็ง ประเทศกรีซ โอลิมเปียกอส
D ประเทศเยอรมนี บาเยิร์นมิวนิก ประเทศอังกฤษ แมนเชสเตอร์ซิตี
E ประเทศอังกฤษ เชลซี ประเทศเยอรมนี ชัลเคอ 04
F ประเทศเยอรมนี โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ ประเทศอังกฤษ อาร์เซนอล
G ประเทศสเปน อัตเลติโกเดมาดริด ประเทศรัสเซีย เซนิต เซนต์ ปีเตอร์สเบิร์ก
H ประเทศสเปน บาร์เซโลนา ประเทศอิตาลี เอซี มิลาน

รอบ 16 ทีมสุดท้าย

[แก้]

โดยจะมีพิธีการจับสลากประกบคู่ในวันที่ 16 ธันวาคม ค.ศ. 2013. รอบ 16 ทีมสุดท้าย นัดแรก จะลงทำการแข่งขันระหว่างวันที่ 18, 19, 25 และ 26 กุมภาพันธ์ 2014 , และรอบ 16 ทีมสุดท้าย นัดที่ 2 จะลงทำการแข่งขันระหว่างวันที่ 11, 12, 18 และ 19 มีนาคม 2014.

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
แมนเชสเตอร์ซิตี ประเทศอังกฤษ 1–4 ประเทศสเปน บาร์เซโลนา 0–2 1–2
โอลิมเปียกอส ประเทศกรีซ 2–3 ประเทศอังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 2–0 0–3
เอซี มิลาน ประเทศอิตาลี 1–5 ประเทศสเปน อัตเลติโกเดมาดริด 0–1 1–4
ไบเออร์ เลเวอร์คูเซน ประเทศเยอรมนี 1–6 ประเทศฝรั่งเศส ปารี แซ็ง-แฌร์แม็ง 0–4 1–2
กาลาทาซาไร ประเทศตุรกี 1–3 ประเทศอังกฤษ เชลซี 1–1 0–2
ชัลเคอ 04 ประเทศเยอรมนี 2–9 ประเทศสเปน เรอัลมาดริด 1–6 1–3
เซนิต เซนต์ ปีเตอร์สเบิร์ก ประเทศรัสเซีย 4–5 ประเทศเยอรมนี โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ 2–4 2–1
อาร์เซนอล ประเทศอังกฤษ 1–3 ประเทศเยอรมนี บาเยิร์นมิวนิก 0–2 1–1

รอบ 8 ทีมสุดท้าย

[แก้]

การจับสลากประกบคู่รอบ 8 ทีมสุดท้ายมีขึ้นในวันที่ 21 มีนาคม ค.ศ. 2014. รอบ 8 ทีมสุดท้าย นัดแรก จะลงทำการแข่งขันระหว่างวันที่ 1 และ 2 เมษายน ค.ศ. 2014 , และรอบ 8 ทีมสุดท้าย นัดที่ 2 จะลงทำการแข่งขันระหว่างวันที่ 8 และ 9 เมษายน 2014.

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
บาร์เซโลนา ประเทศสเปน 1–2 ประเทศสเปน อัตเลติโกเดมาดริด 1–1 0–1
เรอัลมาดริด ประเทศสเปน 3–2 ประเทศเยอรมนี โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ 3–0 0–2
ปารี แซ็ง-แฌร์แม็ง ประเทศฝรั่งเศส 3–3 (a) ประเทศอังกฤษ เชลซี 3–1 0–2
แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด ประเทศอังกฤษ 2–4 ประเทศเยอรมนี บาเยิร์นมิวนิก 1–1 1–3

รอบรองชนะเลิศ

[แก้]

การจับสลากประกบคู่รอบรองชนะเลิศมีขึ้นในวันที่ 11 เมษายน ค.ศ. 2014. รอบรองชนะเลิศ นัดแรก จะลงทำการแข่งขันระหว่างวันที่ 22 และ 23 เมษายน 2014 , และรอบรองชนะเลิศ นัดที่ 2 จะลงทำการแข่งขันระหว่างวันที่ 29 และ 30 เมษายน 2014.

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
เรอัลมาดริด ประเทศสเปน 5–0 ประเทศเยอรมนี บาเยิร์นมิวนิก 1–0 4–0
อัตเลติโกเดมาดริด ประเทศสเปน 3–1 ประเทศอังกฤษ เชลซี 0–0 3–1

รอบชิงชนะเลิศ

[แก้]

สถิติ

[แก้]

สถิติการทำประตู และ สถิติการจ่ายบอล (นับตั้งแต่รอบคัดเลือก และ รอบเพลย์ออฟ)

หมายเหตุ: นักเตะและทีมที่อยู่ใน ตัวหนา คือยังอยู่ในระบบการแข่งขัน.


อ้างอิง

[แก้]
  1. "Lisbon to stage 2014 UEFA Champions League final". UEFA.com. 20 March 2012.
  2. "Gibraltar set to be new kids on the Rock as Uefa votes on its future". The Guardian. 23 May 2013.
  3. "UEFA Welcome Gibraltar To Europe's Football Family As 54th Member". insidefutbol.com. 24 May 2013.
  4. "Regulations of the UEFA Champions League 2013/14" (PDF). Nyon: UEFA. March 2013. สืบค้นเมื่อ 1 May 2013.
  5. "Country coefficients 2011/12". UEFA.com.
  6. "UEFA Country Ranking 2012". Bert Kassies.
  7. 7.0 7.1 "2013/14 UEFA Champions League access list". UEFA.com.
  8. "Access list 2013/2014". Bert Kassies. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-12-31. สืบค้นเมื่อ 2013-08-20.
  9. "2013/14 UEFA Champions League participants". UEFA.com.
  10. "Qualification for European Cup Football 2013/2014". Bert Kassies. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-12-31. สืบค้นเมื่อ 2013-08-19.
  11. "Club coefficients 2012/13". UEFA.com.
  12. "UEFA Team Ranking 2013". Bert Kassies.
  13. "Seeding in the Champions League 2013/2014". Bert Kassies. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-09-21. สืบค้นเมื่อ 2013-08-22.
  14. "First and second qualifying round draw results". UEFA.com. 24 June 2013.
  15. 15.0 15.1 "Statistics — Tournament phase — Player statistics". UEFA.com.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]