ข้ามไปเนื้อหา

ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2023–24

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2023–24
สนามเวมบลีย์ในลอนดอนจะเป็นสนามแข่งขันนัดชิงชนะเลิศ
รายละเอียดการแข่งขัน
วันที่รอบคัดเลือก:
27 มิถุนายน – 30 สิงหาคม 2023
การแข่งขัน:
19 กันยายน 2023 – 1 มิถุนายน 2024
ทีมรอบแบ่งกลุ่ม: 32
ทั้งหมด: 78 (จาก 53 สมาคม)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศประเทศสเปน เรอัลมาดริด (สมัยที่ 15)
รองชนะเลิศประเทศเยอรมนี โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน125
จำนวนประตู375 (3 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม6,511,191 (52,090 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดแฮร์รี เคน (ไบเอิร์นมิวนิก)
กีลียาน อึมบาเป (ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง)
คนละ 8 ประตู

ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2023–24 เป็นฤดูกาลที่ 69 ของการแข่งขันฟุตบอลระดับสโมสรชั้นนำของยุโรปซึ่งจัดโดยยูฟ่า และเป็นฤดูกาลที่ 32 นับตั้งแต่เปลี่ยนชื่อจากยูโรเปียนคัพเป็นยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก

รอบชิงชนะเลิศจะเล่นที่สนามกีฬาเวมบลีย์ในลอนดอน ประเทศอังกฤษ[1] แชมป์ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2023–24 จะผ่านเข้ารอบโดยอัตโนมัติสำหรับรอบแบ่งกลุ่มของยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2024–25 และยังได้รับสิทธิ์ในการพบกับแชมป์ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2023–24 ในยูฟ่าซูเปอร์คัพ 2024

ฤดูกาลนี้จะเป็นฤดูกาลสุดท้ายที่ใช้รูปแบบปัจจุบันคือมี 32 ทีมเข้าร่วมในรอบแบ่งกลุ่ม หลังจากที่ยูฟ่าประกาศว่ารูปแบบใหม่จะถูกนำมาใช้ในฤดูกาลหน้า[2]

การคัดเลือกสโมสร

[แก้]

80 สโมสรจาก 53 ประเทศ ของสมาชิกยูฟ่าจำนวน 55 ประเทศ จะได้เข้าร่วมการแข่งขันยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2023–24 (ยกเว้น ลิกเตนสไตน์,[Note LIE] ซึ่งไม่ได้จัดการแข่งขันลีก และ รัสเซีย[Note RUS]). การจัดอันดับสมาคมขึ้นอยู่กับ ค่าสัมประสิทธิ์สมาคมยูฟ่า ใช้เพื่อกำหนดจำนวนทีมที่เข้าร่วมสำหรับแต่ละสมาคม:[3]

  • สมาคมอันดับที่ 1–4 จะได้สโมสรเข้าร่วมการแข่งขัน 4 สโมสร
  • สมาคมอันดับที่ 5–6 จะได้สโมสรเข้าร่วมการแข่งขัน 3 สโมสร
  • สมาคมอันดับที่ 7–15 (ยกเว้น รัสเซีย)[Note RUS] จะได้สโมสรเข้าร่วมการแข่งขัน 2 สโมสร
  • สมาคมอันดับที่ 16–55 (ยกเว้น ลิกเตนสไตน์)[Note LIE] จะได้สโมสรเข้าร่วมการแข่งขัน 1 สโมสร
  • สโมสรที่ชนะเลิศการแข่งขันยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2022–23 และ ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2022–23 จะได้รับสิทธิ์เข้าร่วมแข่งขันหากไม่ได้สิทธิ์สำหรับยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2023–24 ผ่านลีกในประเทศของพวกเขา.

การจัดอันดับตามสมาคมฟุตบอล

[แก้]

สำหรับการแข่งขัน ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2023–24, แต่ละสมาคมจะจัดอันดับอ้างอิงตามค่าสัมประสิทธิ์ของยูฟ่าในปี พ.ศ. 2565 (ค.ศ. 2022) ซึ่งคิดตามผลการแข่งขันฟุตบอลระดับทวีปตั้งแต่ฤดูกาล 2017–18 ถึง 2021–22.[4] การจัดสรรทีมสะท้อนถึงการระงับอย่างต่อเนื่องของรัสเซียจากการแข่งขันของยูฟ่า.

อันดับตามสมาคมฟุตบอลสำหรับการแข่งขัน ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2023–24
อันดับที่ สมาคม ค่าสัมประสิทธิ์ สโมสร หมายเหตุ
1  อังกฤษ 106.641 4
2  สเปน 96.141
3  อิตาลี 76.902
4  เยอรมนี 75.213
5  ฝรั่งเศส 60.081 3
6  โปรตุเกส 53.382
7  เนเธอร์แลนด์ 49.300 2
8  ออสเตรีย 38.850
9  สกอตแลนด์ 36.900
10  รัสเซีย 34.482 0 [Note RUS]
11  เซอร์เบีย 33.375 2
12  ยูเครน 31.800
13  เบลเยียม 30.600
14  สวิตเซอร์แลนด์ 29.675
15  กรีซ 28.200
16  เช็กเกีย 27.800 1
17  นอร์เวย์ 27.250
18  เดนมาร์ก 27.175
19  โครเอเชีย 27.150
อันดับที่ สมาคม ค่าสัมประสิทธิ์ สโมสร หมายเหตุ
20  ตุรกี 27.100 1
21  ไซปรัส 26.375
22  อิสราเอล 24.375
23  สวีเดน 22.875
24  บัลแกเรีย 19.500
25  โรมาเนีย 17.150
26  อาเซอร์ไบจาน 17.000
27  ฮังการี 16.375
28  โปแลนด์ 15.875
29  คาซัคสถาน 15.750
30  สโลวาเกีย 15.625
31  สโลวีเนีย 15.000
32  เบลารุส 12.500
33  มอลโดวา 11.250
34  ลิทัวเนีย 10.000
35  บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา 9.125
36  ฟินแลนด์ 8.875
37  ลักเซมเบิร์ก 8.750
38  ลัตเวีย 8.625
อันดับที่ สมาคม ค่าสัมประสิทธิ์ สโมสร หมายเหตุ
39  คอซอวอ 8.166 1
40  สาธารณรัฐไอร์แลนด์ 8.125
41  อาร์มีเนีย 8.125
42  ไอร์แลนด์เหนือ 8.083
43  แอลเบเนีย 8.000
44  หมู่เกาะแฟโร 7.250
45  เอสโตเนีย 7.041
46  มอลตา 7.000
47  จอร์เจีย 7.000
48  มาซิโดเนีย 7.000
49  ลีชเทินชไตน์ 6.500 0 [Note LIE]
50  เวลส์ 5.500 1
51  ยิบรอลตาร์ 5.416
52  ไอซ์แลนด์ 5.375
53  มอนเตเนโกร 4.875
54  อันดอร์รา 4.665
55  ซานมารีโน 1.332

การจัดการแข่งขัน

[แก้]

ตารางด้านล่างนี้เป็นการจัดการแข่งขันสำหรับฤดูกาล 2023–24.[5]

ลำดับการเข้ารอบในการแข่งขัน ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2023–24
สโมสรที่เข้าสู่รอบนี้ สโมสรที่มาจากรอบก่อนหน้า
รอบคัดเลือกก่อนรอบแรก
(4 สโมสร)
  • 4 สโมสรชนะเลิศจากสมาคมอันดับที่ 52–55
รอบคัดเลือกรอบแรก
(32 สโมสร)
  • 31 สโมสรชนะเลิศจากสมาคมอันดับที่ 20–51 (ยกเว้นลิกเตนสไตน์)[Note LIE]
  • 1 สโมสรที่ชนะในรอบคัดเลือกก่อนรอบแรก
รอบคัดเลือกรอบสอง
(24 สโมสร)
ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก
(20 สโมสร)
  • 4 สโมสรชนะเลิศจากสมาคมอันดับที่ 16–19
  • 16 สโมสรผู้ชนะที่มาจากรอบคัดเลือกรอบแรก
ตัวแทนจากลีก
(4 สโมสร)
  • 4 สโมสรอันดับที่ 2 จากสมาคมอันดับที่ 12–15
รอบคัดเลือกรอบสาม
(20 สโมสร)
ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก
(12 สโมสร)
  • 2 สโมสรชนะเลิศจากสมาคมอันดับที่ 14–15
  • 10 สโมสรผู้ชนะที่มาจากรอบคัดเลือกรอบสอง (ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก)
ตัวแทนจากลีก
(8 สโมสร)
  • 4 สโมสรอันดับที่ 2 จากสมาคมอันดับที่ 7–11 (ยกเว้นรัสเซีย)[Note RUS]
  • 2 สโมสรอันดับที่ 3 จากสมาคมอันดับที่ 5–6
  • 2 สโมสรผู้ชนะที่มาจากรอบคัดเลือกรอบสอง (ตัวแทนจากลีก)
รอบเพลย์ออฟ
(12 สโมสร)
ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก
(8 สโมสร)
  • 2 สโมสรชนะเลิศจากสมาคมอันดับที่ 12–13
  • 6 สโมสรผู้ชนะที่มาจากรอบคัดเลือกรอบสาม (ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก)
ตัวแทนจากลีก
(4 สโมสร)
  • 4 สโมสรผู้ชนะที่มาจากรอบคัดเลือกรอบสาม (ตัวแทนจากลีก)
รอบแบ่งกลุ่ม
(32 สโมสร)
  • แชมป์เก่ายูฟ่าแชมเปียนส์ลีก
  • แชมป์เก่ายูฟ่ายูโรปาลีก
  • 10 สโมสรชนะเลิศจากสมาคมอันดับที่ 1–11 (ยกเว้นรัสเซีย)[Note RUS]
  • 6 สโมสรอันดับที่ 2 จากสมาคมอันดับที่ 1–6
  • 4 สโมสรอันดับที่ 3 จากสมาคมอันดับที่ 1–4
  • 4 สโมสรอันดับที่ 4 จากสมาคมอันดับที่ 1–4
  • 4 สโมสรผู้ชนะที่มาจากรอบเพลย์ออฟ (ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก)
  • 2 สโมสรผู้ชนะที่มาจากรอบเพลย์ออฟ (ตัวแทนจากลีก)
รอบแพ้คัดออก
(16 สโมสร)
  • 8 สโมสรชนะเลิศในรอบแบ่งกลุ่ม
  • 8 สโมสรอันดับที่ 2 ในรอบแบ่งกลุ่ม

เนื่องจากการระงับของรัสเซียสำหรับฟุตบอลสโมสรยุโรป ฤดูกาล 2023–24, การเปลี่ยนแปลงด้านล่างนี้สู่ตารางการจัดการแข่งขันที่ได้จัดขึ้น:[6]

  • แชมเปียนส์ของสมาคมลำดับที่ 11 (เซอร์เบีย) ผ่านเข้าสู่รอบแบ่งกลุ่มแทนที่รอบเพลย์ออฟ (ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก).
  • แชมเปียนส์ของสมาคมลำดับที่ 13 (เบลเยียม) ผ่านเข้าสู่รอบเพลย์ออฟแทนที่รอบคัดเลือกรอบสาม (ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก).
  • แชมเปียนส์ของสมาคมลำดับที่ 15 (กรีซ) ผ่านเข้าสู่รอบคัดเลือกรอบสามแทนที่รอบคัดเลือกรอบสอง (ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก).
  • แชมเปียนส์ของสมาคมลำดับที่ 18 (เดนมาร์ก) และ 19 (โครเอเชีย) ผ่านเข้าสู่รอบคัดเลือกรอบสองแทนที่รอบคัดเลือกรอบแรก (ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก).
  • รองชนะเลิศของสมาคมลำดับที่ 11 (เซอร์เบีย) ผ่านเข้าสู่รอบคัดเลือกรอบสามแทนที่รอบคัดเลือกรอบสอง (ตัวแทนจากลีก).

นับตั้งแต่ แชมป์เก่าแชมเปียนส์ลีก (แมนเชสเตอร์ซิตี) ได้ผ่านเข้าไปผ่านลีกภายในประเทศของพวกเขา, การเปลี่ยนแปลงด้านล่างนี้สู่ตารางการจัดการแข่งขันที่ได้จัดขึ้น:

  • แชมเปียนส์ของสมาคมลำดับที่ 12 (ยูเครน) ผ่านเข้าสู่รอบแบ่งกลุ่มแทนที่รอบเพลย์ออฟ (ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก).
  • แชมเปียนส์ของสมาคมลำดับที่ 14 (สวิตเซอร์แลนด์) ผ่านเข้าสู่รอบเพลย์ออฟแทนที่รอบคัดเลือกรอบสาม (ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก).
  • แชมเปียนส์ของสมาคมลำดับที่ 16 (เช็กเกีย) ผ่านเข้าสู่รอบคัดเลือกรอบสามแทนที่รอบคัดเลือกรอบสอง (ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก).
  • แชมเปียนส์ของสมาคมลำดับที่ 20 (ตุรกี) และ 21 (ไซปรัส) ผ่านเข้าสู่รอบคัดเลือกรอบสองแทนที่รอบคัดเลือกรอบแรก (ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก).

สโมสร

[แก้]

ป้ายกำกับในวงเล็บแสดงให้เห็นว่าแต่ละทีมมีคุณสมบัติสำหรับพื้นที่ของรอบที่เริ่มต้น:

  • TH: แชมป์เก่ายูฟ่าแชมเปียนส์ลีก
  • EL: แชมป์เก่ายูฟ่ายูโรปาลีก
  • 1st, 2nd, 3rd, 4th, etc.: อันดับในลีกของฤดูกาลที่ผ่านมา

รอบคัดเลือกรอบสอง, รอบคัดเลือกรอบสามและรอบเพลย์ออฟ แบ่งออกเป็น ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก (CH) และตัวแทนจากลีก (LP).

สโมสรที่ได้รับสิทธิ์เข้าร่วมแข่งขัน ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2023–24 (เรียงตามรอบที่เข้าแข่งขัน)
รอบที่เข้าร่วม ทีม
รอบแบ่งกลุ่ม ประเทศอังกฤษ แมนเชสเตอร์ซิตี (อันดับที่ 1)TH ประเทศสเปน เซบิยา (EL) ประเทศอังกฤษ อาร์เซนอล (อันดับที่ 2) ประเทศอังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด (อันดับที่ 3)
ประเทศอังกฤษ นิวคาสเซิลยูไนเต็ด (อันดับที่ 4) ประเทศสเปน บาร์เซโลนา (อันดับที่ 1) ประเทศสเปน เรอัลมาดริด (อันดับที่ 2) ประเทศสเปน อัตเลติโกเดมาดริด (อันดับที่ 3)
ประเทศสเปน เรอัลโซซิเอดัด (อันดับที่ 4) ประเทศอิตาลี นาโปลี (อันดับที่ 1) ประเทศอิตาลี ลัตซีโย (อันดับที่ 2) ประเทศอิตาลี อินเตอร์ มิลาน (อันดับที่ 3)
ประเทศอิตาลี มิลาน (อันดับที่ 4) ประเทศเยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก (อันดับที่ 1) ประเทศเยอรมนี โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ (อันดับที่ 2) ประเทศเยอรมนี แอร์เบ ไลพ์ซิช (อันดับที่ 3)
ประเทศเยอรมนี อูนีโอนแบร์ลีน (อันดับที่ 4) ประเทศฝรั่งเศส ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง (อันดับที่ 1) ประเทศฝรั่งเศส ล็องส์ (อันดับที่ 2) ประเทศโปรตุเกส ไบฟีกา (อันดับที่ 1)
ประเทศโปรตุเกส โปร์ตู (อันดับที่ 2) ประเทศเนเธอร์แลนด์ ไฟเยอโนร์ด (อันดับที่ 1) ประเทศออสเตรีย เร็ดบุลซัลทซ์บวร์ค (อันดับที่ 1) ประเทศสกอตแลนด์ เซลติก (อันดับที่ 1)
ประเทศเซอร์เบีย เรดสตาร์ เบลเกรด (อันดับที่ 1) ประเทศยูเครน ชัคตาร์ดอแนตสก์ (อันดับที่ 1)
รอบเพลย์ออฟ CH ประเทศเบลเยียม อันต์เวิร์ป (อันดับที่ 1) ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ยัง บอยส์ (อันดับที่ 1)
รอบคัดเลือกรอบสาม CH ประเทศกรีซ อาเอก เอเธนส์ (อันดับที่ 1) ประเทศเช็กเกีย สปาร์ตา ปราก (อันดับที่ 1)
LP ประเทศฝรั่งเศส มาร์แซย์ (อันดับที่ 3) ประเทศโปรตุเกส บรากา (อันดับที่ 3) ประเทศเนเธอร์แลนด์ เปเอสเฟ ไอนด์โฮเฟิน (อันดับที่ 2) ประเทศออสเตรีย สตวร์ม กราซ (อันดับที่ 2)
ประเทศสกอตแลนด์ เรนเจอส์ (อันดับที่ 2) ประเทศเซอร์เบีย ทีเอสซี (อันดับที่ 2)
รอบคัดเลือกรอบสอง CH ประเทศนอร์เวย์ ม็อลเดอ (อันดับที่ 1) ประเทศเดนมาร์ก โคเปนเฮเกน (อันดับที่ 1) ประเทศโครเอเชีย ดินามอซาเกร็บ (อันดับที่ 1) ประเทศตุรกี กาลาทาซาไร (อันดับที่ 1)
ประเทศไซปรัส อาริส ลิมาสซอล (อันดับที่ 1)
LP ประเทศยูเครน ดนีปรอ-1 (อันดับที่ 2) ประเทศเบลเยียม แค็งก์ (อันดับที่ 2) ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เซอร์เว็ตต์ (อันดับที่ 2) ประเทศกรีซ ปานาซีไนโกส (อันดับที่ 2)
รอบคัดเลือกรอบแรก ประเทศอิสราเอล มัคคาบีไฮฟา (อันดับที่ 1) ประเทศสวีเดน บีเค ฮัคเคิน (อันดับที่ 1) ประเทศบัลแกเรีย ลูโดโกเรตส์รัซกราด (อันดับที่ 1) ประเทศโรมาเนีย ฟารุล คอนสแตนตา (อันดับที่ 1)
ประเทศอาเซอร์ไบจาน คาราบัก (อันดับที่ 1) ประเทศฮังการี แฟแร็นตส์วาโรช (อันดับที่ 1) ประเทศโปแลนด์ ราคอฟ แชสตอชอวา (อันดับที่ 1) ประเทศคาซัคสถาน อัสตานา (อันดับที่ 1)
ประเทศสโลวาเกีย สโลวาน บราติสลาวา (อันดับที่ 1) ประเทศสโลวีเนีย โอลิมปิยา ลูบลิยานา (อันดับที่ 1) ประเทศเบลารุส บาแตบารือเซา (อันดับที่ 3)[Note BLR] ประเทศมอลโดวา เชริฟฟ์ตีรัสปอล (อันดับที่ 1)
ประเทศลิทัวเนีย ชัลกิริส (อันดับที่ 1) ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ซรินจ์สกี มอสตาร์ (อันดับที่ 1) ประเทศฟินแลนด์ เอชเจเค (อันดับที่ 1) ประเทศลักเซมเบิร์ก สวิฟต์ เฮสเปรันเก (อันดับที่ 1)
ประเทศลัตเวีย วัลมิเอรา (อันดับที่ 1) ประเทศคอซอวอ บอลล์คานี (อันดับที่ 1) สาธารณรัฐไอร์แลนด์ แชมร็อกโรเวอส์ (อันดับที่ 1) ประเทศอาร์มีเนีย อูราร์ตู (อันดับที่ 1)
ไอร์แลนด์เหนือ Larne (อันดับที่ 1) ประเทศแอลเบเนีย ปาร์ตีซานี (อันดับที่ 1) หมู่เกาะแฟโร (อันดับที่ 1) ประเทศเอสโตเนีย Flora (อันดับที่ 1)
ประเทศมอลตา Ħamrun Spartans (อันดับที่ 1) ประเทศจอร์เจีย ดีนาโมทบิลีซี (อันดับที่ 1) มาซิโดเนียเหนือ Struga (อันดับที่ 1) ประเทศเวลส์ The New Saints (อันดับที่ 1)
ยิบรอลตาร์ Lincoln Red Imps (อันดับที่ 1)
รอบเบื้องต้น ไอซ์แลนด์ Breiðablik (อันดับที่ 1) ประเทศมอนเตเนโกร บูดูชนอสต์พอดกอรีตซา (อันดับที่ 1) ประเทศอันดอร์รา Atlètic Club d'Escaldes (อันดับที่ 1) ประเทศซานมารีโน Tre Penne (อันดับที่ 1)

หมายเหตุ

  1. ^
    Belarus (BLR): Shakhtyor Soligorsk would have qualified as champions of the 2022 Belarusian Premier League but were found guilty of match-fixing by the ABFF and denied a UEFA license. Runners-up Energetik-BGU Minsk were also found guilty of match-fixing and also denied a UEFA license. As a result, the Football Federation of Belarus decided to award the Champions League spot to BATE Borisov, who finished 3rd in the league.[7]
  2. ^
    Liechtenstein (LIE): The seven teams affiliated with the Liechtenstein Football Association (LFV) all play in the Swiss football league system. The only competition organised by the LFV is the Liechtenstein Football Cup – the winners of which qualify for the UEFA Europa Conference League.
  3. ^
    Russia (RUS): On 28 February 2022, Russian football clubs and national teams were suspended from FIFA and UEFA competitions due to the Russian invasion of Ukraine.[8] The tables reflect Russia's ongoing suspension from UEFA competitions.[6]

วันแข่งขันและวันจับสลาก

[แก้]

ตารางการแข่งขันเป็นไปดังนี้.[9][10][11] แมตช์ทั้งหมดจะลงเล่นทุกวันอังคารและทุกวันพุธ นอกจากรอบเบื้องต้นรอบชิงชนะเลิศ. เวลาคิกออฟการแข่งขันจะเริ่มต้นตั้งแต่รอบเพลย์ออฟคือ 18:45 และ 21:00 CEST/CET.

วันแข่งขันสำหรับการแข่งขัน ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2023–24
การแข่งขัน รอบ วันจับสลาก นัดแรก นัดที่สอง
รอบคัดเลือก รอบเบื้องต้น 13 มิถุนายน 2566 27 มิถุนายน 2566 (รอบรองชนะเลิศ) 30 มิถุนายน 2566 (รอบชิงชนะเลิศ)
รอบคัดเลือกรอบแรก 20 มิถุนายน 2566 11–12 กรกฎาคม 2566 18–19 กรกฎาคม 2566
รอบคัดเลือกรอบสอง 21 มิถุนายน 2566 25–26 กรกฎาคม 2566 1–2 สิงหาคม 2566
รอบคัดเลือกรอบสาม 24 กรกฎาคม 2566 8–9 สิงหาคม 2566 15 สิงหาคม 2566
เพลย์ออฟ รอบเพลย์ออฟ 7 สิงหาคม 2566 22–23 สิงหาคม 2566 29–30 สิงหาคม 2566
รอบแบ่งกลุ่ม นัดที่ 1 31 สิงหาคม 2566 19–20 กันยายน 2566
นัดที่ 2 3–4 ตุลาคม 2566
นัดที่ 3 24–25 ตุลาคม 2566
นัดที่ 4 7–8 พฤศจิกายน 2566
นัดที่ 5 28–29 พฤศจิกายน 2566
นัดที่ 6 12–13 ธันวาคม 2566
รอบแพ้คัดออก รอบ 16 ทีมสุดท้าย 18 ธันวาคม 2566 13–14 และ 20–21 กุมภาพันธ์ 2567 5–6 และ 12–13 มีนาคม 2567
รอบ 8 ทีมสุดท้าย 15 มีนาคม 2567 9–10 เมษายน 2567 16–17 เมษายน 2567
รอบรองชนะเลิศ 30 เมษายน – 1 พฤษภาคม 2567 7–8 พฤษภาคม 2567
รอบชิงชนะเลิศ 1 มิถุนายน 2567 ที่ สนามกีฬาเวมบลีย์, ลอนดอน

รอบคัดเลือก

[แก้]

รอบเบื้องต้น

[แก้]

ทั้งหมดสี่ทีมมีส่วนร่วมในรอบเบื้องต้น. การจัดทีมวางของแต่ละทีมขึ้นอยู่กับพวกเขาในปี ค.ศ. 2023 ค่าสัมประสิทธิ์สโมสรยูฟ่า,[12] สองทีมเป็นทีมวางและสองทีมเป็นทีมที่ไม่ได้เป็นทีมวางในรอบรองชนะเลิศ. แต่ละนัดจัดขึ้นที่ Kópavogsvöllur ใน คอปาวอกูร์, ประเทศไอซ์แลนด์ ดังนั้นทีมแรกที่ถูกจับชื่อขึ้นมาในแต่ละคู่ในรอบรองชนะเลิศ, และรอบชิงชนะเลิศ (ระหว่างสองทีมชนะเลิศของรอบรองชนะเลิศ, ผู้ที่ไม่ทราบตัวตนในขณะการจับสลาก), จะเป็นทีม "เจ้าบ้าน" เพื่อวัตถุประสงค์ในการบริหาร.ผู้ชนะของรอบเบื้องต้น รอบชิงชนะเลิศ ผ่านเข้าสู่รอบคัดเลือกรอบแรก. ผู้แพ้ของรอบรองชนะเลิศและรอบชิงชนะเลิศจะถูกย้ายไปสู่ ยูโรปาคอนเฟอเรนซ์ลีก ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก รอบคัดเลือกรอบสอง.

ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
รอบรองชนะเลิศ
อัตเลติก คลับ ดี'เอสคัลเดส ประเทศอันดอร์รา 0–3 ประเทศมอนเตเนโกร บูดูชนอสต์พอดกอรีตซา
เทร เพนเน ประเทศซานมารีโน 1–7 ไอซ์แลนด์ ไบรดาบลิก
ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
รอบชิงชนะเลิศ
บูดูชนอสต์พอดกอรีตซา ประเทศมอนเตเนโกร 0–5 ไอซ์แลนด์ ไบรดาบลิก

รอบคัดเลือกรอบแรก

[แก้]

การจับสลากสำหรับรอบคัดเลือกรอบแรกได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน ค.ศ. 2023. เลกแรกจะลงเล่นในวันที่ 11 และ 12 กรกฎาคม และเลกที่สองจะลงเล่นในวันที่ 18 และ 19 กรกฎาคม ค.ศ. 2023.

ผู้ชนะของแต่ละคู่จะได้ผ่านเข้าสู่ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก รอบคัดเลือกรอบสอง. 13 จาก 15 ผู้แพ้จะถูกย้ายไปสู่ ยูโรปาคอนเฟอเรนซ์ลีก ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก รอบคัดเลือกรอบสอง และ 2 ผู้แพ้ได้รับสิทธิ์บายและถูกย้ายไปสู่ ยูโรปาคอนเฟอเรนซ์ลีก ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก รอบคัดเลือกรอบสาม.

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
บีเค ฮัคเคิน ประเทศสวีเดน 5–1 ประเทศเวลส์ เดอะนิวเซนส์ 3–1 2–0
บอลล์กานี ประเทศคอซอวอ 2–4 ประเทศบัลแกเรีย ลูโดโกเรตส์รัซกราด 2–0 0–4
แชมร็อกโรเวอส์ สาธารณรัฐไอร์แลนด์ 1–3 ไอซ์แลนด์ ไบรดาบลิก 0–1 1–2
ชัลกิริส ประเทศลิทัวเนีย 2–1 มาซิโดเนียเหนือ สตรูกา 0–0 2–1
เคไอ หมู่เกาะแฟโร 3–0 ประเทศฮังการี แฟแร็นตส์วาโรช 0–0 3–0
โอลิมปิยา ลูบลิยานา ประเทศสโลวีเนีย 4–2 ประเทศลัตเวีย วัลมิเอรา 2–1 2–1
เอชเจเค ประเทศฟินแลนด์ 3–2 ไอร์แลนด์เหนือ ลาร์เน 1–0 2–2
(ต่อเวลา)
ลินคอล์นเรดอิมป์ส ยิบรอลตาร์ 1–6[A] ประเทศอาเซอร์ไบจาน คาราบัก 1–2 0–4
ราคอฟ แชสตอชอวา ประเทศโปแลนด์ 4–0[A] ประเทศเอสโตเนีย ฟลอรา 1–0 3–0
สโลวาน บราติสลาวา ประเทศสโลวาเกีย 3–1 ประเทศลักเซมเบิร์ก สวิฟต์ เฮสเปรันเก 1–1 2–0
ฟารุล คอนสแตนตา ประเทศโรมาเนีย 1–3 ประเทศมอลโดวา เชริฟฟ์ตีรัสปอล 1–0 0–3
(ต่อเวลา)
แฮมรุน สปาร์ตันส์ ประเทศมอลตา 1–6 ประเทศอิสราเอล มัคคาบีไฮฟา 0–4 1–2
อูราร์ตู ประเทศอาร์มีเนีย 3–3
(ดวลลูกโทษ 3–4)
ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ซรินจ์สกี มอสตาร์ 0–1 3–2
(ต่อเวลา)
ปาร์ตีซานี ประเทศแอลเบเนีย 1–3 ประเทศเบลารุส บาแตบารือเซา 1–1 0–2
อัสตานา ประเทศคาซัคสถาน 3–2 ประเทศจอร์เจีย ดีนาโมทบิลีซี 1–1 2–1

หมายเหตุ

  1. 1.0 1.1 ผู้แพ้ที่จับสลากแล้วได้รับสิทธิ์บายเข้าสู่ ยูโรปาคอนเฟอเรนซ์ลีก รอบคัดเลือกรอบสาม.

รอบคัดเลือกรอบสอง

[แก้]

การจับสลากสำหรับรอบคัดเลือกรอบสองได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน ค.ศ. 2023. เลกแรกจะลงเล่นในวันที่ 25 และ 26 กรกฎาคม และเลกที่สองจะลงเล่นในวันที่ 1 และ 2 สิงหาคม ค.ศ. 2023.

ผู้ชนะของแต่ละคู่จะผ่านเข้าสู่รอบคัดเลือกรอบสามของเส้นทางของตนเอง. ผู้แพ้ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีกจะถูกย้ายไปสู่ ยูโรปาลีก ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก รอบคัดเลือกรอบสาม, ในขณะที่ผู้แพ้ตัวแทนจากลีกจะถูกย้ายไปสู่ ยูโรปาลีก ตัวแทนจากลีก รอบคัดเลือกรอบสาม.

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก
ชัลกิริส ประเทศลิทัวเนีย 2–3 ประเทศตุรกี กาลาทาซาไร 2–2 0–1
ลูโดโกเรตส์รัซกราด ประเทศบัลแกเรีย 2–3 ประเทศสโลวีเนีย โอลิมปิยา ลูบลิยานา 1–1 1–2
ราคอฟ แชสตอชอวา ประเทศโปแลนด์ 4–3 ประเทศอาเซอร์ไบจาน คาราบัก 3–2 1–1
เคไอ หมู่เกาะแฟโร 3–3 (4–3 ) ประเทศสวีเดน บีเค ฮัคเคิน 0–0 3–3
(ต่อเวลา)
เอชเจเค ประเทศฟินแลนด์ 1–2 ประเทศนอร์เวย์ ม็อลเดอ 1–0 0–2
ไบรดาบลิก ไอซ์แลนด์ 3–8 ประเทศเดนมาร์ก โคเปนเฮเกน 0–2 3–6
เชริฟฟ์ตีรัสปอล ประเทศมอลโดวา 2–4 ประเทศอิสราเอล มัคคาบีไฮฟา 1–0 1–4
(ต่อเวลา)
อาริส ลิมาสซอล ประเทศไซปรัส 11–5 ประเทศเบลารุส บาแตบารือเซา 6–2 5–3
ซรินจ์สกี มอสตาร์ ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา 2–3 ประเทศสโลวาเกีย สโลวาน บราติสลาวา 0–1 2–2
ดินามอซาเกร็บ ประเทศโครเอเชีย 6–0 ประเทศคาซัคสถาน อัสตานา 4–0 2–0
ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
ตัวแทนจากลีก
ดนีปรอ-1 ประเทศยูเครน 3–5 ประเทศกรีซ ปานาซีไนโกส 1–3 2–2
เซอร์เวตต์ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ 3–3 (1–4 ) ประเทศเบลเยียม แค็งก์ 1–1 2–2
(ต่อเวลา)

รอบคัดเลือกรอบสาม

[แก้]

การจับสลากสำหรับรอบคัดเลือกรอบสามได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2566. เลกแรกจะลงเล่นในวันที่ 8, 9 และ 15 สิงหาคม และเลกที่สองจะลงเล่นในวันที่ 15 และ 19 สิงหาคม ค.ศ. 2023.

ผู้ชนะของแต่ละคู่จะผ่านเข้าสู่รอบเพลย์ออฟของเส้นทางของตนเอง. ผู้แพ้ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีกจะถูกย้ายไปสู่ ยูโรปาลีก รอบเพลย์ออฟ, ในขณะที่ผู้แพ้ตัวแทนจากลีกจะถูกย้ายไปสู่ ยูโรปาลีก รอบแบ่งกลุ่ม.

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก
ราคอฟ แชสตอชอวา ประเทศโปแลนด์ 3–1 ประเทศไซปรัส อาริส ลิมาสซอล 2–1 1–0
สโลวาน บราติสลาวา ประเทศสโลวาเกีย 2–5 ประเทศอิสราเอล มัคคาบีไฮฟา 1–2 1–3
ดินามอซาเกร็บ ประเทศโครเอเชีย 3–4[A] ประเทศกรีซ อาเอกเอเธนส์ 1–2 2–2
โอลิมปิยา ลูบลิยานา ประเทศสโลวีเนีย 0–4 ประเทศตุรกี กาลาทาซาไร 0–3 0–1
โคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ก 3–3
(ดวลลูกโทษ 4–2)
ประเทศเช็กเกีย สปาร์ตาปราก 0–0 3–3
(ต่อเวลา)
เคไอ หมู่เกาะแฟโร 2–3 ประเทศนอร์เวย์ ม็อลเดอ 2–1 0–2
(ต่อเวลา)
ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
ตัวแทนจากลีก
บรากา ประเทศโปรตุเกส 7–1 ประเทศเซอร์เบีย ทีเอสซี 3–0 4–1
เรนเจอส์ ประเทศสกอตแลนด์ 3–2 ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เซอร์เวตต์ 1–0 2–1
(ต่อเวลา)
ปานาซีไนโกส ประเทศกรีซ 2–2
(ดวลลูกโทษ 5–3)
ประเทศฝรั่งเศส มาร์แซย์ 1–0 1–2
(ต่อเวลา)
เปเอสเฟ ไอนด์โฮเฟิน ประเทศเนเธอร์แลนด์ 7–2 ประเทศออสเตรีย สตวร์ม กราทซ์ 4–1 3–1

รอบเพลย์ออฟ

[แก้]

การจับสลากสำหรับรอบเพลย์ออฟจะจัดขึ้นในวันที่ 7 สิงหาคม ค.ศ. 2023. เลกแรกจะลงเล่นในวันที่ 22 และ 23 สิงหาคม, และเลกที่สองจะลงเล่นในวันที่ 29 และ 30 สิงหาคม ค.ศ. 2023.

ผู้ชนะของแต่ละคู่จะได้ผ่านเข้าสู่ รอบแบ่งกลุ่ม. ผู้แพ้จะถูกย้ายไป ยูโรปาลีก รอบแบ่งกลุ่ม.

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก
มัคคาบีไฮฟา ประเทศอิสราเอล 0–3 ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ยัง บอยส์ 0–0 0–3
อันต์เวิร์ป ประเทศเบลเยียม 3–1 ประเทศกรีซ อาเอกเอเธนส์ 1–0 2–1
ราคอฟ แชสตอชอวา ประเทศโปแลนด์ 1–2 ประเทศเดนมาร์ก โคเปนเฮเกน 0–1 1–1
ม็อลเดอ ประเทศนอร์เวย์ 3–5 ประเทศตุรกี กาลาทาซาไร 2–3 1–2
ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
ตัวแทนจากลีก
เรนเจอส์ ประเทศสกอตแลนด์ 3–7 ประเทศเนเธอร์แลนด์ เปเอสเฟ ไอนด์โฮเฟิน 2–2 1–5
บรากา ประเทศโปรตุเกส 3–1 ประเทศกรีซ ปานาซีไนโกส 2–1 1–0

รอบแบ่งกลุ่ม

[แก้]

การจับสลากรอบแบ่งกลุ่มสำหรับยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2023–24 ได้จัดขึ้นที่ กริมัลดี ฟอรัม, โมนาโก, ในวันที่ 31 สิงหาคม ณ 18:00 CEST. 32 ทีมได้ถูกจับสลากอยู่ในแปดกลุ่มที่มี่สีทีม. สำหรับการจับสลาก, แต่ละทีมจะเป็นทีมวางอยู่ในสี่โถ, แต่ละกลุ่มมีแปดทีม, ตามหลักการดังต่อไปนี้:

ทีมที่มาจากสมาคมเดียวกันจะไม่สามารถจับสลากมาอยู่ในกลุ่มเดียวกันได้ .

อูนีโอนแบร์ลีน และ อันต์เวิร์ป จะเป็นการลงสนามครั้งแรกในรอบแบ่งกลุ่ม.

ทั้งหมด 15 สมาคมในแต่ละชาติจะเป็นตัวแทนในรอบแบ่งกลุ่ม.

กลุ่ม เอ

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ ประเทศเยอรมนี BAY ประเทศเดนมาร์ก CPH ประเทศตุรกี GAL ประเทศอังกฤษ MUN
1 ประเทศเยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก 6 5 1 0 12 6 +6 16 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก 0–0 2–1 4–3
2 ประเทศเดนมาร์ก โคเปนเฮเกน 6 2 2 2 8 8 0 8 1–2 1–0 4–3
3 ประเทศตุรกี กาลาทาซาไร 6 1 2 3 10 13 −3 5 ย้ายไปสู่ ยูโรปาลีก 1–3 2–2 3–3
4 ประเทศอังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 6 1 1 4 12 15 −3 4 0–1 1–0 2–3
แหล่งข้อมูล: ยูฟ่า
กฏการจัดอันดับ: เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม

กลุ่ม บี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ ประเทศอังกฤษ ARS ประเทศเนเธอร์แลนด์ PSV ประเทศฝรั่งเศส LEN ประเทศสเปน SEV
1 ประเทศอังกฤษ อาร์เซนอล 6 4 1 1 16 4 +12 13 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก 4–0 6–0 2–0
2 ประเทศเนเธอร์แลนด์ เปเอสเฟ ไอนด์โฮเฟิน 6 2 3 1 8 10 −2 9 1–1 1–0 2–2
3 ประเทศฝรั่งเศส ล็องส์ 6 2 2 2 6 11 −5 8 ย้ายไปสู่ ยูโรปาลีก 2–1 1–1 2–1
4 ประเทศสเปน เซบิยา 6 0 2 4 7 12 −5 2 1–2 2–3 1–1
แหล่งข้อมูล: ยูฟ่า

กลุ่ม ซี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ ประเทศสเปน RMA ประเทศอิตาลี NAP ประเทศโปรตุเกส BRA ประเทศเยอรมนี UBE
1 ประเทศสเปน เรอัลมาดริด 6 6 0 0 16 7 +9 18 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก 4–2 3–0 1–0
2 ประเทศอิตาลี นาโปลี 6 3 1 2 10 9 +1 10 2–3 2–0 1–1
3 ประเทศโปรตุเกส บรากา 6 1 1 4 6 12 −6 4 ย้ายไปสู่ ยูโรปาลีก 1–2 1–2 1–1
4 ประเทศเยอรมนี อูนีโอนแบร์ลีน 6 0 2 4 6 10 −4 2 2–3 0–1 2–3
แหล่งข้อมูล: ยูฟ่า

กลุ่ม ดี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ ประเทศสเปน RSO ประเทศอิตาลี INT ประเทศโปรตุเกส BEN ประเทศออสเตรีย SAL
1 ประเทศสเปน เรอัลโซซิเอดัด 6 3 3 0 7 2 +5 12[a] ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก 1–1 3–1 0–0
2 ประเทศอิตาลี อินเตอร์ มิลาน 6 3 3 0 8 5 +3 12[a] 0–0 1–0 2–1
3 ประเทศโปรตุเกส ไบฟีกา 6 1 1 4 7 11 −4 4[b] ย้ายไปสู่ ยูโรปาลีก 0–1 3–3 0–2
4 ประเทศออสเตรีย เร็ดบุลซัลทซ์บวร์ค 6 1 1 4 4 8 −4 4[b] 0–2 0–1 1–3
แหล่งข้อมูล: ยูฟ่า
Notes:
  1. 1.0 1.1 เสมอด้วยคะแนน เฮด-ทู-เฮด, ผลต่างประตู, และประตูที่ทำได้. ผลต่างประตูในแมตช์ทั้งหมด: เรอัลโซซิเอดัด +5, อินเตอร์ มิลาน +3.
  2. 2.0 2.1 เสมอด้วยคะแนน เฮด-ทู-เฮด, ผลต่างประตู, ประตูที่ทำได้, และผลต่างประตูในแมตช์ทั้งหมด. ประตูที่ทำได้ในแมตช์ทั้งหมด: ไบฟีกา 7, เร็ดบุลซัลทซ์บวร์ค 4.

กลุ่ม อี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ ประเทศสเปน ATM ประเทศอิตาลี LAZ ประเทศเนเธอร์แลนด์ FEY ประเทศสกอตแลนด์ CEL
1 ประเทศสเปน อัตเลติโกเดมาดริด 6 4 2 0 17 6 +11 14 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก 2–0 3–2 6–0
2 ประเทศอิตาลี ลัตซีโย 6 3 1 2 7 7 0 10 1–1 1–0 2–0
3 ประเทศเนเธอร์แลนด์ ไฟเยอโนร์ด 6 2 0 4 9 10 −1 6 ย้ายไปสู่ ยูโรปาลีก 1–3 3–1 2–0
4 ประเทศสกอตแลนด์ เซลติก 6 1 1 4 5 15 −10 4 2–2 1–2 2–1
แหล่งข้อมูล: ยูฟ่า

กลุ่ม เอฟ

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ ประเทศเยอรมนี DOR ประเทศฝรั่งเศส PAR ประเทศอิตาลี MIL ประเทศอังกฤษ NEW
1 ประเทศเยอรมนี โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ 6 3 2 1 7 4 +3 11 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก 1–1 0–0 2–0
2 ประเทศฝรั่งเศส ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 6 2 2 2 9 8 +1 8[a] 2–0 3–0 1–1
3 ประเทศอิตาลี มิลาน 6 2 2 2 5 8 −3 8[a] ย้ายไปสู่ ยูโรปาลีก 1–3 2–1 0–0
4 ประเทศอังกฤษ นิวคาสเซิลยูไนเต็ด 6 1 2 3 6 7 −1 5 0–1 4–1 1–2
แหล่งข้อมูล: ยูฟ่า
Notes:
  1. 1.0 1.1 เสมอด้วยคะแนน เฮด-ทู-เฮด. ผลต่างประตู เฮด-ทู-เฮด: ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง +2, มิลาน −2

กลุ่ม จี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ ประเทศอังกฤษ MCI ประเทศเยอรมนี RBL ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ YB ประเทศเซอร์เบีย ZVE
1 ประเทศอังกฤษ แมนเชสเตอร์ซิตี 6 6 0 0 18 7 +11 18 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก 3–2 3–0 3–1
2 ประเทศเยอรมนี แอร์เบ ไลพ์ซิช 6 4 0 2 13 10 +3 12 1–3 2–1 3–1
3 ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ยังบอยส์ 6 1 1 4 7 13 −6 4 ย้ายไปสู่ ยูโรปาลีก 1–3 1–3 2–0
4 ประเทศเซอร์เบีย เรดสตาร์เบลเกรด 6 0 1 5 7 15 −8 1 2–3 1–2 2–2
แหล่งข้อมูล: ยูฟ่า

กลุ่ม เอช

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ ประเทศสเปน BAR ประเทศโปรตุเกส POR ประเทศยูเครน SHK ประเทศเบลเยียม ANT
1 ประเทศสเปน บาร์เซโลนา 6 4 0 2 12 6 +6 12[a] ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก 2–1 2–1 5–0
2 ประเทศโปรตุเกส โปร์ตู 6 4 0 2 15 8 +7 12[a] 0–1 5–3 2–0
3 ประเทศยูเครน ชัคตาร์ดอแนตสก์ 6 3 0 3 10 12 −2 9 ย้ายไปสู่ ยูโรปาลีก 1–0 1–3 1–0
4 ประเทศเบลเยียม อันต์เวิร์ป 6 1 0 5 6 17 −11 3 3–2 1–4 2–3
แหล่งข้อมูล: ยูฟ่า
Notes:
  1. 1.0 1.1 คะแนนเฮด-ทู-เฮด: บาร์เซโลนา 6, โปร์ตู 0.

รอบแพ้คัดออก

[แก้]

สายการแข่งขัน

[แก้]
 
รอบ 16 ทีมสุดท้ายรอบก่อนรองชนะเลิศรอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
                      
 
 
 
 
ประเทศอิตาลี อินเตอร์มิลาน112 (2)
 
 
 
ประเทศสเปน อัตเลติโกมาดริด
(ลูกโทษ)
022 (3)
 
ประเทศสเปน อัตเลติโกมาดริด224
 
 
 
ประเทศเยอรมนี โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์145
 
ประเทศเนเธอร์แลนด์ เปเอสเฟ ไอนด์โฮเฟิน101
 
 
 
ประเทศเยอรมนี โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์123
 
ประเทศเยอรมนี โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์112
 
 
 
ประเทศฝรั่งเศส ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง000
 
ประเทศฝรั่งเศส ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง224
 
 
 
ประเทศสเปน เรอัลโซซิเอดัด011
 
ประเทศฝรั่งเศส ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง246
 
 
 
ประเทศสเปน บาร์เซโลนา314
 
ประเทศอิตาลี นาโปลี112
 
1 มิถุนายน – ลอนดอน
 
ประเทศสเปน บาร์เซโลนา134
 
ประเทศเยอรมนี โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์0
 
 
 
ประเทศสเปน เรอัลมาดริด2
 
ประเทศโปรตุเกส โปร์ตู101 (2)
 
 
 
ประเทศอังกฤษ อาร์เซนอล
(ลูกโทษ)
011 (4)
 
ประเทศอังกฤษ อาร์เซนอล202
 
 
 
ประเทศเยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก213
 
ประเทศอิตาลี ลัตซีโย101
 
 
 
ประเทศเยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก033
 
ประเทศเยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก213
 
 
 
ประเทศสเปน เรอัลมาดริด224
 
ประเทศเยอรมนี แอร์เบ ไลพ์ซิช011
 
 
 
ประเทศสเปน เรอัลมาดริด112
 
ประเทศสเปน เรอัลมาดริด
(ลูกโทษ)
314 (4)
 
 
 
ประเทศอังกฤษ แมนเชสเตอร์ซิตี314 (3)
 
ประเทศเดนมาร์ก โคเปนเฮเกน112
 
 
ประเทศอังกฤษ แมนเชสเตอร์ซิตี336
 

รอบ 16 ทีมสุดท้าย

[แก้]

พิธีการจับสลากประกบคู่สำหรับรอบ 16 ทีมสุดท้าย มีขึ้นในวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2566 (ค.ศ. 2023), 12:00 CET.[16] เลกแรกจะลงเล่นในวันที่ 13, 14, 20 และ 21 กุมภาพันธ์, และเลกที่สองจะลงเล่นในวันที่ 5, 6, 12 และ 13 มีนาคม พ.ศ. 2567 (ค.ศ. 2024).

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
โปร์ตู ประเทศโปรตุเกส 1–1
(ดวลลูกโทษ 2–4)
ประเทศอังกฤษ อาร์เซนอล 1–0 0–1
(ต่อเวลา)
นาโปลี ประเทศอิตาลี 2–4 ประเทศสเปน บาร์เซโลนา 1–1 1–3
ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง ประเทศฝรั่งเศส 4–1 ประเทศสเปน เรอัลโซซิเอดัด 2–0 2–1
อินเตอร์มิลาน ประเทศอิตาลี 2–2
(ดวลลูกโทษ 2–3)
ประเทศสเปน อัตเลติโกมาดริด 1–0 1–2
(ต่อเวลา)
เปเอสเฟ ไอนด์โฮเฟิน ประเทศเนเธอร์แลนด์ 1–3 ประเทศเยอรมนี โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ 1–1 0–2
ลัตซีโย ประเทศอิตาลี 1–3 ประเทศเยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก 1–0 0–3
โคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ก 2–6 ประเทศอังกฤษ แมนเชสเตอร์ซิตี 1–3 1–3
แอร์เบ ไลพ์ซิช ประเทศเยอรมนี 1–2 ประเทศสเปน เรอัลมาดริด 0–1 1–1

รอบก่อนรองชนะเลิศ

[แก้]

พิธีการจับสลากประกบคู่สำหรับรอบก่อนรองชนะเลิศ มีขึ้นในวันที่ 15 มีนาคม ค.ศ. 2024, 12:00 CET[16] เลกแรกจะลงเล่นในวันที่ 9 และ 10 เมษายน และเลกที่สองจะลงเล่นในวันที่ 16 และ 17 เมษายน ค.ศ. 2024.

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
อาร์เซนอล ประเทศอังกฤษ 2–3 ประเทศเยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก 2–2 0–1
อัตเลติโกมาดริด ประเทศสเปน 4–5 ประเทศเยอรมนี โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ 2–1 2–4
เรอัลมาดริด ประเทศสเปน 4–4
(ดวลลูกโทษ 4–3)
ประเทศอังกฤษ แมนเชสเตอร์ซิตี 3–3 1–1
(ต่อเวลา)
ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง ประเทศฝรั่งเศส 6–4 ประเทศสเปน บาร์เซโลนา 2–3 4–1

รอบรองชนะเลิศ

[แก้]

พิธีการจับสลากประกบคู่สำหรับรอบรองชนะเลิศ มีขึ้นในวันที่ 15 มีนาคม ค.ศ. 2024, 12:00 CET, หลังจากการจับสลากรอบก่อนรองชนะเลิศ.[16] เลกแรกจะลงเล่นในวันที่ 30 เมษายน และ 1 พฤษภาคม และเลกที่สองจะลงเล่นในวันที่ 7 และ 8 พฤษภาคม ค.ศ. 2024.

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ ประเทศเยอรมนี 2–0 ประเทศฝรั่งเศส ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 1–0 1–0
ไบเอิร์นมิวนิก ประเทศเยอรมนี 3–4 ประเทศสเปน เรอัลมาดริด 2–2 1–2

รอบชิงชนะเลิศ

[แก้]

นัดชิงชนะเลิศจะลงเล่นในวันที่ 1 มิถุนายน ค.ศ. 2024 ที่สนามกีฬาเวมบลีย์ ในลอนดอน พิธีการจับสลากประกบคู่สำหรับนัดชิงชนะเลิศ มีขึ้นในวันที่ 15 มีนาคม ค.ศ. 2024 หลังจากพิธีการจับสลากประกบคู่สำหรับรอบก่อนรองชนะเลิศและรอบรองชนะเลิศ เพื่อกำหนดหาทีม "เจ้าบ้าน" เพื่อวัตถุประสงค์ในการบริหาร[16]

โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ ประเทศเยอรมนี0–2ประเทศสเปน เรอัลมาดริด
รายงาน

สถิติ

[แก้]

สถิติรวมตั้งแต่รอบคัดเลือก และ รอบเพลย์ออฟ

ผู้ทำประตูสูงสุด

[แก้]
กีลียาน อึมบาเป ของปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง และ แฮร์รี เคน ของไบเอิร์นมิวนิก เป็นผู้ทำประตูสูงสุดของทัวร์นาเมนต์ในปัจจุบัน โดยทำได้คนละ 8 ประตู.
อันดับ[18] ผู้เล่น สโมสร ประตู นาทีที่ลงเล่น
1 ประเทศอังกฤษ แฮร์รี เคน ประเทศเยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก 8 1064
ประเทศฝรั่งเศส กีลียาน อึมบาเป ประเทศฝรั่งเศส ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 1080
3 ประเทศนอร์เวย์ อาลิง โฮลัน ประเทศอังกฤษ แมนเชสเตอร์ซิตี 6 778
ประเทศฝรั่งเศส อ็องตวน กรีแยซมาน ประเทศสเปน อัตเลติโกมาดริด 821
ประเทศบราซิล วีนีซียุส ฌูนีโยร์ ประเทศสเปน เรอัลมาดริด 901
6 ประเทศสเปน โฆเซลู ประเทศสเปน เรอัลมาดริด 5 273
ประเทศอาร์เจนตินา ฆูเลียน อัลบาเรซ ประเทศอังกฤษ แมนเชสเตอร์ซิตี 279
ประเทศเดนมาร์ก รัสมุส ฮอยลุนด์ ประเทศอังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 489
ประเทศบราซิล กาเลนู ประเทศโปรตุเกส โปร์ตู 651
ประเทศสเปน อัลบาโร โมราตา ประเทศสเปน อัตเลติโกมาดริด 667
ประเทศอังกฤษ ฟิล โฟเดน ประเทศอังกฤษ แมนเชสเตอร์ซิตี 684
ประเทศบราซิล โรดรีกู ประเทศสเปน เรอัลมาดริด 1021

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Champions League final hosts for 2021, 2022, 2023 and 2024". UEFA. 24 September 2019. สืบค้นเมื่อ 27 July 2022.
  2. "UEFA approves final format and access list for its club competitions as of the 2024/25 season". UEFA.com. 10 May 2022. สืบค้นเมื่อ 8 March 2023.
  3. "Regulations of the UEFA Champions League, 2023/24 Season". Nyon: UEFA. 2023. สืบค้นเมื่อ 30 April 2021.
  4. "Association coefficients 2021/22". UEFA.com. Union of European Football Associations. 27 July 2022. สืบค้นเมื่อ 27 July 2022.
  5. "Access list 2021–24" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 4 December 2018. สืบค้นเมื่อ 16 February 2020.
  6. 6.0 6.1 "UEFA decisions for upcoming competitions relating to the ongoing suspension of Russian national teams and clubs" (Press release). Nyon: UEFA. 2 May 2022. สืบค้นเมื่อ 2 May 2022.
  7. "БАТЭ не стане чэмпіёнам Беларусі, але будзе заяўляцца ў Лігу чэмпіёнаў" [BATE will not become the champion of Belarus, but will enter the Champions League] (ภาษาเบลารุส). Tribuna. 11 May 2023. สืบค้นเมื่อ 11 May 2023.
  8. "Ukraine crisis: Fifa and Uefa suspend all Russian clubs and national teams". BBC.co.uk. British Broadcasting Corporation. 28 February 2022. สืบค้นเมื่อ 28 February 2022.
  9. "2023/24 UEFA Champions League: Matches, final, key dates". UEFA. 1 November 2022. สืบค้นเมื่อ 1 January 2023.
  10. "International match calendar and access list for the 2023/24 season". UEFA Circular Letter. No. 65/2022. Union of European Football Associations. 26 September 2022. สืบค้นเมื่อ 27 September 2022.
  11. "2023 European football calendar: Match and draw dates for all UEFA competitions". UEFA. 20 December 2022. สืบค้นเมื่อ 1 January 2023.
  12. "Club coefficients". UEFA.com. Union of European Football Associations. 14 May 2023. สืบค้นเมื่อ 14 May 2023.
  13. Gatopoulos, Derek; Dunbar, Graham (8 August 2023). "Fan killed in Greece during clashes between rival supporters. UEFA postpones Champions League game". Associated Press. สืบค้นเมื่อ 8 August 2023.
  14. "UEFA statement on AEK Athens FC vs GNK Dinamo match". UEFA.com. 8 August 2023. สืบค้นเมื่อ 8 August 2023.
  15. "Club coefficients | UEFA Coefficients". UEFA.com. Union of European Football Associations. 2023. สืบค้นเมื่อ 29 August 2023.
  16. 16.0 16.1 16.2 16.3 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ schedule
  17. "Full Time Report Final – Borussia Dortmund v Real Madrid" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. 1 June 2024. สืบค้นเมื่อ 1 June 2024.
  18. "UEFA Champions League – Top Scorers". UEFA.com. Union of European Football Associations. สืบค้นเมื่อ 1 June 2024.


อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ <ref> สำหรับกลุ่มชื่อ "upper-alpha" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="upper-alpha"/> ที่สอดคล้องกัน