ข้ามไปเนื้อหา

กีฬาฟุตบอลในเอเชียนเกมส์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก ฟุตบอลในเอเชียนเกมส์)

กีฬาฟุตบอล ได้รับการบรรจุครั้งแรกในการแข่งขันเอเชียนเกมส์ 1951 โดยเริ่มต้นที่ประเภททีมชายก่อน หลังจากนั้นการแข่งขันฟุตบอลประเภททีมหญิงได้บรรจุครั้งแรกในเอเชียนเกมส์ 1990

ในกีฬาเอเชียนเกมส์ 2002 สมาพันธ์ฟุตบอลแห่งเอเชียได้ออกกฎที่จำกัดอายุนักฟุตบอลทีมชายให้อายุไม่เกิน 23 ปี และในหนึ่งทีมสามารถมีผู้เล่นที่มีอายุมากกว่าที่กำหนดได้สูงสุดทีมละ 3 คน เท่านั้น[1] เพื่อให้เป็นไปในแนวทางเดียวกันกับการจำกัดอายุในการแข่งขันฟุตบอลในโอลิมปิก

การแข่งขันทีมชาย

[แก้]

ผลการแข่งขัน

[แก้]
ค.ศ. เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงอันดับสาม
เหรียญทอง ประตู เหรียญเงิน เหรียญทองแดง ประตู อันดับสี่
1951
รายละเอียด
ประเทศอินเดีย
อินเดีย

อินเดีย
1-0
อิหร่าน

ญี่ปุ่น
2-0
อัฟกานิสถาน
1954
รายละเอียด
ประเทศฟิลิปปินส์
ฟิลิปปินส์

สาธารณรัฐจีน
5-2
เกาหลีใต้

พม่า
5-4
อินโดนีเซีย
1958
รายละเอียด
ประเทศญี่ปุ่น
ญี่ปุ่น

สาธารณรัฐจีน
3-2
เกาหลีใต้

อินโดนีเซีย
4-1
อินเดีย
1962
รายละเอียด
ประเทศอินโดนีเซีย
อินโดนีเซีย

อินเดีย
2-1
เกาหลีใต้

มาลายา
4-1
เวียดนามใต้
1966
รายละเอียด
ประเทศไทย
ไทย

พม่า
1-0
อิหร่าน

ญี่ปุ่น
2-0
สิงคโปร์
1970
รายละเอียด
ประเทศไทย
ไทย

พม่า


เกาหลีใต้
0-0
(ต่อเวลา) 1

อินเดีย
1-0
ญี่ปุ่น
1974
รายละเอียด
ประเทศอิหร่าน
อิหร่าน

อิหร่าน
1-0
อิสราเอล

มาเลเซีย
2-1
เกาหลีเหนือ
1978
รายละเอียด
ประเทศไทย
ไทย

เกาหลีเหนือ


เกาหลีใต้
0-0
(ต่อเวลา) 1

จีน
1-0
อิรัก
1982
รายละเอียด
ประเทศอินเดีย
อินเดีย

อิรัก
1-0
คูเวต

ซาอุดีอาระเบีย
2 - 02
เกาหลีเหนือ
1986
รายละเอียด
ประเทศเกาหลีใต้
เกาหลีใต้

เกาหลีใต้
2-0
ซาอุดีอาระเบีย

คูเวต
5-0
อินโดนีเซีย
1990
รายละเอียด
ประเทศจีน
จีน

อิหร่าน
0-0
(ต่อเวลา)
(4-1) ลูกโทษ

เกาหลีเหนือ

เกาหลีใต้
1-0
ไทย
1994
รายละเอียด
ประเทศญี่ปุ่น
ญี่ปุ่น

อุซเบกิสถาน
4-2
จีน

คูเวต
2-1
เกาหลีใต้
1998
รายละเอียด
ประเทศไทย
ไทย

อิหร่าน
2-0
คูเวต

จีน
3-0
ไทย
2002
รายละเอียด
ประเทศเกาหลีใต้
เกาหลีใต้

อิหร่าน
2-1
ญี่ปุ่น

เกาหลีใต้
3-0
ไทย
2006
รายละเอียด
ประเทศกาตาร์
กาตาร์

กาตาร์
1-0
อิรัก

อิหร่าน
1-0
(ต่อเวลา)

เกาหลีใต้
2010
รายละเอียด
ประเทศจีน
จีน

ญี่ปุ่น
1-0
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์

เกาหลีใต้
4-3
อิหร่าน
2014
รายละเอียด
ประเทศเกาหลีใต้
เกาหลีใต้

เกาหลีใต้
1–0
(ต่อเวลา)

เกาหลีเหนือ

อิรัก
1–0
ไทย
2018
รายละเอียด
ประเทศอินโดนีเซีย
อินโดนีเซีย

เกาหลีใต้
2–1
(ต่อเวลา)

ญี่ปุ่น

สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
1–1
(ต่อเวลา)
(4–3) ลูกโทษ

เวียดนาม
2022
รายละเอียด
ประเทศจีน
จีน

เกาหลีใต้
2–1
ญี่ปุ่น

อุซเบกิสถาน
4–0
ฮ่องกง

1 ชนะการแข่งขันร่วมกัน
2 ทีมชาติซาอุดิอาระเบียได้อันดับสามในการแข่งขันภายหลังจากที่ทีมชาติเกาหลีเหนือถูกระงับสองปีเนื่องด้วยได้มีการทำร้ายเจ้าหน้าที่พนักงานในรอบรองชนะเลิศ

ตารางเหรียญรางวัล

[แก้]
ทีม เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
 เกาหลีใต้ 6 (1970, 1978, 1986, 2014, 2018, 2022) 3 (1954, 1958, 1962) 3 (1990, 2002, 2010)
 อิหร่าน 4 (1974, 1990, 1998, 2002) 2 (1951, 1966) 1 (2006)
 อินเดีย 2 (1951, 1962) 1 (1970)
 พม่า (พม่า) 2 (1966, 1970) 1 (1954)
 จีนไทเป 2 (1954, 1958)
 ญี่ปุ่น 1 (2010) 3 (2002, 2018, 2022) 2 (1951, 1966)
 อิรัก 1 (1982) 1 (2006) 1 (2014)
 เกาหลีเหนือ 1 (1978) 2 (1990, 2014)
 กาตาร์ 1 (2006)
 อุซเบกิสถาน 1 (1994) 1 (2022)
 คูเวต 2 (1982, 1998) 2 (1986, 1994)
 จีน 1 (1994) 2 (1978, 1998)
 ซาอุดีอาระเบีย 1 (1986) 1 (1982)
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 1 (2010) 1 (2018)
 อิสราเอล 1 (1974)
 มาเลเซีย 2 (1962, 1974)
 อินโดนีเซีย 1 (1958)
ตัวหนา = เจ้าภาพ

การแข่งขันหญิง

[แก้]

ผลการแข่งขัน

[แก้]
ค.ศ. เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงอันดับสาม
เหรียญทอง ประตู เหรียญเงิน เหรียญทองแดง ประตู อันดับสี่
1990
รายละเอียด
ประเทศจีน
จีน

จีน
3
ญี่ปุ่น

เกาหลีเหนือ
3
จีนไทเป
1994
รายละเอียด
ประเทศญี่ปุ่น
ญี่ปุ่น

จีน
2-0
ญี่ปุ่น

จีนไทเป
4
เกาหลีใต้
1998
รายละเอียด
ประเทศไทย
ไทย

จีน
1-0
เกาหลีเหนือ

ญี่ปุ่น
2-1
จีนไทเป
2002
รายละเอียด
ประเทศเกาหลีใต้
เกาหลีใต้

เกาหลีเหนือ
3
จีน

ญี่ปุ่น
3
เกาหลีใต้
2006
รายละเอียด
ประเทศกาตาร์
กาตาร์

เกาหลีเหนือ
0-0 ต่อเวลา
(4-1) ดวลลูกโทษ

ญี่ปุ่น

จีน
2-0
เกาหลีใต้
2010
รายละเอียด
ประเทศจีน
จีน

ญี่ปุ่น
1-0
เกาหลีเหนือ

เกาหลีใต้
2-0
จีน
2014
รายละเอียด
ประเทศเกาหลีใต้
เกาหลีใต้

เกาหลีเหนือ
3–1
ญี่ปุ่น

เกาหลีใต้
3–0
เวียดนาม
2018
รายละเอียด
ประเทศอินโดนีเซีย
อินโดนีเซีย

ญี่ปุ่น
1–0
จีน

เกาหลีใต้
4–0
จีนไทเป

^3 การแข่งขันแบบพบกันหมด
^4 ตัดสินจากอันดับในการแข่งขันแบบพบกันหมด

ตารางเหรียญรางวัล

[แก้]
ทีม เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
 จีน 3 (1990, 1994, 1998) 2 (2002, 2018) 1 (2006)
 เกาหลีเหนือ 3 (2002, 2006, 2014) 2 (1998, 2010) 1 (1990)
 ญี่ปุ่น 2 (2010, 2018) 4 (1990, 1994, 2006, 2014) 2 (1998, 2002)
 เกาหลีใต้ 3 (2010,2014,2018)
 จีนไทเป 1 (1994)
ตัวหนา = เจ้าภาพ

สถิติ

[แก้]

Mens General Statistics (1951 - 1998)+(2002 - 2014)

[แก้]

As end of 2014 Asian Games.

อันดับ ทีม Part Pld W D L GF GA Dif Pts
1  เกาหลีใต้ 16 87 58 9 20 186 71 +115 183
2  อิหร่าน 14 68 43 9 16 128 55 +73 141
3  ญี่ปุ่น 17 71 42 4 25 128 70 +58 130
4  จีน 11 52 32 4 16 108 55 +53 100
5  ไทย 14 65 27 9 29 96 89 +7 90
6  อิรัก 6 40 27 5 8 76 20 +56 86
7  เกาหลีเหนือ 9 47 24 12 11 70 39 +31 84
8  คูเวต 11 56 32 7 17 118 55 +63 73
9  อินเดีย 14 56 22 3 31 74 107 –33 69
10  อุซเบกิสถาน 6 29 18 3 8 73 34 +39 57
11  ซาอุดีอาระเบีย 6 28 14 7 7 43 30 +10 49
12  อินโดนีเซีย 9 35 14 7 14 63 65 -2 49
13  กาตาร์ 7 30 12 10 6 49 25 +24 46
14  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 7 30 12 9 9 41 35 +6 45
15  พม่า 9 34 13 6 14 49 60 -11 45
16  มาเลเซีย 14 50 12 5 33 71 103 –32 41
17  ฮ่องกง 9 34 11 4 13 42 50 –8 37
18  โอมาน 6 22 9 4 9 42 35 +7 31
19  เวียดนาม 10 30 9 3 18 44 57 –13 30
20  จีนไทเป 3 12 9 1 2 32 18 +14 28
21  อิสราเอล 2 10 8 0 2 30 7 +23 24
22  เติร์กเมนิสถาน 4 18 6 6 6 29 34 –5 24
23  บาห์เรน 8 24 7 4 13 31 51 –20 25
24  สิงคโปร์ 6 21 5 3 13 29 53 –24 18
25  ซีเรีย 2 9 2 5 2 9 7 +2 11
26  ประเทศเลบานอน 2 8 3 1 4 21 10 +11 10
27  ทาจิกิสถาน 2 9 3 1 5 13 19 –6 10
28  บังกลาเทศ 8 23 3 0 20 9 64 –55 9
29  ปากีสถาน 8 22 2 2 18 20 75 –55 8
30  คาซัคสถาน 1 5 2 1 2 8 6 +2 7
31  ปาเลสไตน์ 4 13 2 1 10 5 28 –23 7
32  เยเมน 3 10 1 2 7 3 21 –18 5
33  มัลดีฟส์ 5 14 1 2 11 9 36 –27 5
34  กัมพูชา 2 5 1 0 4 5 12 –7 3
35  ฟิลิปปินส์ 4 11 1 0 10 5 63 –58 3
36  คีร์กีซสถาน 2 6 0 1 5 3 11 -8 1
37  เยเมนใต้ 1 3 0 0 3 1 8 –7 0
38  ลาว 2 5 0 0 5 1 20 –19 0
39  อัฟกานิสถาน 4 10 0 0 10 5 57 –52 0
40  มองโกเลีย 1 2 0 0 2 0 26 –26 0
41  เนปาล 5 15 0 0 15 1 65 –64 0
42  ติมอร์-เลสเต 1 3 0 0 3 2 13 –11 0
43  มาเก๊า 1 3 0 0 3 1 25 -24 0

Mens General Statistics (1951 - 1998)

[แก้]

As end of 1998 Asian Games.

Rank Team Part Pld W D L GF GA Dif Pts
1  เกาหลีใต้ 12 61 37 8 16 129 62 +67 119
2  อิหร่าน 10 47 30 5 12 86 34 +52 95
3  ญี่ปุ่น 13 50 25 4 21 83 56 +27 79
4  จีน 7 37 23 3 11 85 38 +47 72
5  อินเดีย 10 44 18 2 24 60 83 –23 56
6  คูเวต 7 42 24 7 11 99 42 +57 49
7  อิรัก 4 24 15 4 5 41 13 +28 49
8  ไทย 10 43 13 7 23 59 74 –25 46
9  พม่า 9 34 13 6 14 49 60 -11 45
10  เกาหลีเหนือ 5 28 11 10 7 40 29 +11 43
11  อินโดนีเซีย 7 28 12 6 10 49 44 +5 42
12  ซาอุดีอาระเบีย 5 23 11 7 5 34 24 +10 40
13  อุซเบกิสถาน 2 13 10 2 1 48 15 +33 32
14  มาเลเซีย 10 37 9 5 23 59 72 –13 32
15  จีนไทเป 3 12 9 1 2 32 18 +14 28
16  อิสราเอล 2 10 8 0 2 30 7 +23 24
17  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 3 13 5 5 3 18 19 –1 20
18  กาตาร์ 4 15 4 7 4 19 19 0 19
19  เติร์กเมนิสถาน 2 11 4 5 2 17 18 –1 17
20  เวียดนาม 6 17 5 2 10 27 33 –6 17
21  ฮ่องกง 5 14 5 1 8 24 33 –9 16
22  บาห์เรน 4 14 3 3 8 12 37 –25 12
23  โอมาน 2 8 3 2 3 18 17 +1 11
24  สิงคโปร์ 4 14 3 2 9 22 39 –17 11
25  คาซัคสถาน 1 5 2 1 2 8 6 +2 7
26  ปากีสถาน 5 14 2 1 11 18 52 –34 7
27  ประเทศเลบานอน 1 5 2 0 3 9 7 +2 6
28  บังกลาเทศ 4 11 2 0 9 3 27 –24 6
29  ทาจิกิสถาน 1 5 1 1 3 8 13 –5 4
30  กัมพูชา 2 5 1 0 4 5 12 –7 3
31  ฟิลิปปินส์ 4 11 1 0 10 5 63 –58 3
32  ซีเรีย 1 3 0 2 1 3 5 –2 2
33  เยเมน 2 7 0 2 5 0 16 –16 2
34  เยเมนใต้ 1 3 0 0 3 1 8 –7 0
35  มัลดีฟส์ 1 2 0 0 2 0 7 –7 0
36  ลาว 1 2 0 0 2 1 11 –10 0
37  อัฟกานิสถาน 2 4 0 0 4 4 17 –13 0
38  มองโกเลีย 1 2 0 0 2 0 26 –26 0
39  เนปาล 4 12 0 0 12 1 52 –51 0

สถิติฟุตบอลชาย (2002 - 2014)

[แก้]

สิ้นสุด ณ เอเชียนเกมส์ 2014

Rank Team Part Pld W D L GF GA Dif Pts
1  เกาหลีใต้ 4 26 21 1 4 57 9 +48 64
2  ญี่ปุ่น 4 21 17 0 4 45 14 +31 51
3  อิหร่าน 4 21 13 4 4 42 21 +21 46
4  ไทย 4 22 14 2 6 37 15 +22 44
5  เกาหลีเหนือ 4 19 13 2 4 30 10 +20 41
6  อิรัก 2 16 12 1 3 35 7 +28 37
7  จีน 4 15 9 1 5 23 17 +6 28
8  กาตาร์ 3 15 8 3 2 30 6 +24 27
9  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 4 17 7 4 6 23 16 +7 25
10  อุซเบกิสถาน 4 16 8 1 7 25 19 +6 25
11  คูเวต 4 14 8 0 6 19 13 +6 24
12  ฮ่องกง 4 20 6 3 5 18 17 +1 21
13  โอมาน 4 14 6 2 6 24 18 +6 20
14  จอร์แดน 3 13 4 4 5 20 16 +4 16
15  บาห์เรน 4 10 4 1 5 19 14 +5 13
16  เวียดนาม 4 13 4 1 8 17 24 –7 13
17  อินเดีย 4 12 4 1 7 14 24 –10 13
18  ซีเรีย 1 6 2 3 1 6 2 +4 9
19  ซาอุดีอาระเบีย 1 5 3 0 2 9 6 +3 9
20  มาเลเซีย 4 13 3 0 10 12 31 –19 9
21  เติร์กเมนิสถาน 2 7 2 1 4 12 16 –4 7
22  อินโดนีเซีย 2 7 2 1 4 14 21 -7 7
23  สิงคโปร์ 3 9 1 4 4 7 14 –7 7
24  ปาเลสไตน์ 4 13 2 1 10 5 28 –23 7
25  ทาจิกิสถาน 1 4 2 0 2 5 6 –1 6
26  มัลดีฟส์ 4 12 1 2 9 9 29 –20 5
27  ประเทศเลบานอน 1 3 1 1 1 12 3 +9 4
28  บังกลาเทศ 4 12 1 0 11 6 37 –31 3
29  เยเมน 1 3 1 0 2 3 5 –2 3
30  คีร์กีซสถาน 2 6 0 1 5 3 11 -8 1
31  ปากีสถาน 3 8 0 1 7 2 23 –21 1
32  ลาว 1 3 0 0 3 0 9 –9 0
33  ติมอร์-เลสเต 1 3 0 0 3 2 13 –11 0
34  เนปาล 1 3 0 0 3 0 13 –13 0
35  มาเก๊า 1 3 0 0 3 1 25 -24 0
36  อัฟกานิสถาน 2 6 0 0 6 1 40 –39 0

Womens General Statistics (1990 - 2014)

[แก้]

As end of 2014 Asian Games.

Rank Team Part Pld W D L GF GA Dif Pts
1  จีน 7 33 23 5 5 117 13 +104 74
2  ญี่ปุ่น 7 34 22 6 6 107 25 +82 72
3  เกาหลีเหนือ 6 29 20 6 3 90 13 +77 66
4  เกาหลีใต้ 7 32 14 2 16 70 68 +2 44
5  จีนไทเป 6 25 5 5 15 38 46 –8 20
6  เวียดนาม 5 19 3 2 14 16 62 –46 11
7  ไทย 4 12 3 1 8 27 46 -19 10
8  อินเดีย 2 6 1 0 5 16 56 -40 3
9  จอร์แดน 3 9 0 1 8 3 67 -64 1
10  มัลดีฟส์ 1 3 0 0 3 0 38 -38 0
11  ฮ่องกง 2 8 0 0 8 0 51 -51 0

อ้างอิง

[แก้]
  1. "PFF chief names Akhtar as head coach of Asian Games team". The Nation. August 29, 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-10-08. สืบค้นเมื่อ September 26, 2011. Faisal Saleh Hayat have confirmed that since 2002, football at the Asian Games changed to age-limit and now it is a "U-23 + 3 overage" tournament.

แม่แบบ:ทีมเอเอฟซี