แอฟริกาคัพออฟเนชันส์ รุ่นอายุไม่เกิน 17 ปี
หน้าตา
ผู้จัด | สมาพันธ์ฟุตบอลแห่งแอฟริกา |
---|---|
ก่อตั้ง | 1995 |
ภูมิภาค | แอฟริกา |
จำนวนทีม | 12 |
ทีมชนะเลิศปัจจุบัน | เซเนกัล (ครั้งที่ 1) |
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุด | |
เว็บไซต์ | เว็บไซต์ทางการ |
แอฟริกาคัพออฟเนชันส์ รุ่นอายุไม่เกิน 17 ปี 2023 |
การแข่งขันฟุตบอลแอฟริกาคัพออฟเนชันส์ รุ่นอายุไม่เกิน 17 ปี (อังกฤษ: U-17 Africa Cup of Nations) หรือที่รู้จักในชื่อ TotalEnergies U-17 Africa Cup of Nations เป็นการแข่งขันฟุตบอลเยาวชนทีมชาติที่จัดขึ้นทุกสองปีโดยสมาพันธ์ฟุตบอลแอฟริกา (CAF) สำหรับทีมชาติของทวีปแอฟริกา โดยผู้เล่นที่อายุต่ำกว่า 17 ปี การแข่งขันนี้เป็นรอบคัดเลือกโซนแอฟริกาสำหรับการแข่งขันฟุตบอลโลก รุ่นอายุไม่เกิน 17 ปี
ผลการแข่งขัน
[แก้]รอบคัดเลือกฟุตบอลโลก รุ่นอายุไม่เกิน 16 ปี โซนแอฟริกา
[แก้]ครั้งที่ | ปี ค.ศ. | เจ้าภาพ | ทีมที่ผ่านการคัดเลือก | |||
---|---|---|---|---|---|---|
ผู้ชนะ | ผู้ชนะ | ผู้ชนะ | ||||
1 | 1985 | เจ้าบ้าน | สาธารณรัฐคองโก |
กินี |
ไนจีเรีย | |
2 | 1987 | เจ้าบ้าน | โกตดิวัวร์ |
อียิปต์ |
ไนจีเรีย | |
3 | 1989 | เจ้าบ้าน | ไนจีเรีย |
กานา |
กินี |
รอบคัดเลือกฟุตบอลโลก รุ่นอายุไม่เกิน 17 ปี โซนแอฟริกา
[แก้]ครั้งที่ | ปี ค.ศ. | เจ้าภาพ | ทีมที่ผ่านการคัดเลือก | |||
---|---|---|---|---|---|---|
ผู้ชนะ | ผู้ชนะ | ผู้ชนะ | ||||
4 | 1991 | เจ้าบ้าน | กานา |
สาธารณรัฐคองโก |
ซูดาน | |
5 | 1993 | เจ้าบ้าน | กานา |
ไนจีเรีย |
ตูนิเซีย |
ฟุตบอลชิงแชมป์แอฟริกา รุ่นอายุไม่เกิน 17 ปี
[แก้]ครั้งที่ | ปี ค.ศ. | เจ้าภาพ | ชิงชนะเลิศ | ชิงอันดับ 3 | ||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ชนะเลิศ | คะแนน | รองชนะเลิศ | อันดับ 3 | คะแนน | อันดับ 4 | |||||
6 | 1995 | มาลี | กานา |
3–1 (ต่อเวลา) |
ไนจีเรีย |
กินี |
2–1 (ต่อเวลา) |
มาลี | ||
7 | 1997 | บอตสวานา | อียิปต์ |
1–0 | มาลี |
กานา |
1–0 | เอธิโอเปีย | ||
8 | 1999 | กินี | กานา |
3–1 | บูร์กินาฟาโซ |
มาลี |
1–0 | แคเมอรูน | ||
9 | 2001 | เซเชลส์ | ไนจีเรีย |
3–0 | บูร์กินาฟาโซ |
มาลี |
– | ว่าง[a] | ||
10 | 2003 | เอสวาตินี | แคเมอรูน |
1–0 (ต่อเวลา) |
เซียร์ราลีโอน |
ไนจีเรีย |
3–1 | อียิปต์ | ||
11 | 2005 | แกมเบีย | แกมเบีย |
1–0 | กานา |
โกตดิวัวร์ |
1–0 | แอฟริกาใต้ | ||
12 | 2007 | โตโก | ไนจีเรีย |
1–0 (ต่อเวลา) |
โตโก |
กานา |
1–0 | ตูนิเซีย | ||
13 | 2009 | แอลจีเรีย | แกมเบีย |
3–1 | แอลจีเรีย |
บูร์กินาฟาโซ |
2–0 | มาลาวี | ||
14 | 2011 | รวันดา | บูร์กินาฟาโซ |
2–1 | รวันดา |
สาธารณรัฐคองโก |
2–1 | โกตดิวัวร์ | ||
15 | 2013 | โมร็อกโก | โกตดิวัวร์ |
1–1 (ดวลลูกโทษ 5–4) |
ไนจีเรีย |
ตูนิเซีย |
1–1 (ต่อเวลา) (ดวลลูกโทษ 11–10) |
โมร็อกโก | ||
16 | 2015 | ไนเจอร์ | มาลี |
2–0 | แอฟริกาใต้ |
กินี |
3–1 | ไนจีเรีย |
หมายเหตุ
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ "FIFA Media Advisory on the Suspension of the Guinean Football Association". FIFA. Zürich, Switzerland. 19 March 2001. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 31 March 2001. สืบค้นเมื่อ 23 June 2002.