ฟุตบอลทีมชาติเกาหลีใต้รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี
หน้าตา
ฉายา | นักรบแทกึก ปีศาจแดง พยัคฆ์เอเชีย | ||
---|---|---|---|
สมาคม | สมาคมฟุตบอลเกาหลี (KFA) | ||
สมาพันธ์ย่อย | อีเอเอฟเอฟ (เอเชียตะวันออก) | ||
สมาพันธ์ | เอเอฟซี (ทวีปเอเชีย) | ||
หัวหน้าผู้ฝึกสอน | ฮวัง ซ็อน-ฮง | ||
ติดทีมชาติสูงสุด | อี กี-ฮย็อง (48 ครั้ง) | ||
ทำประตูสูงสุด | ชเว ยง-ซู (25 ประตู) | ||
รหัสฟีฟ่า | KOR | ||
| |||
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก | |||
เกาหลีใต้ 5–0 อินโดนีเซีย (มาซัน ประเทศเกาหลีใต้; 24 มีนาคม ค.ศ. 1991)[1] | |||
ชนะสูงสุด | |||
เกาหลีใต้ 10–0 ฟิลิปปินส์ (โซล ประเทศเกาหลีใต้; 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1991) เกาหลีใต้ 10–0 ฟิลิปปินส์ (ย่างกุ้ง ประเทศพม่า; 30 มิถุนายน ค.ศ. 2012) เกาหลีใต้ 10–0 มาเก๊า (นครโฮจิมินห์ ประเทศเวียดนาม; 19 กรกฎาคม ค.ศ. 2017) | |||
แพ้สูงสุด | |||
สวีเดน 3–0 เกาหลีใต้ (ประเทศสวีเดน; 7 พฤศจิกายน ค.ศ. 1995) ญี่ปุ่น 4–1 เกาหลีใต้ (โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น; 7 กันยายน ค.ศ. 1999) เกาหลีใต้ 0–3 สเปน (แอดิเลด ประเทศออสเตรเลีย; 14 กันยายน ค.ศ. 2000) อิตาลี 3–0 เกาหลีใต้ (ฉินหวงเต่า ประเทศจีน; 10 สิงหาคม ค.ศ. 2008) เกาหลีใต้ 0–3 บราซิล (แมนเชสเตอร์ ประเทศอังกฤษ; 7 สิงหาคม ค.ศ. 2012) อุซเบกิสถาน 4–1 เกาหลีใต้ (คุนซาน ประเทศจีน; 23 มกราคม ค.ศ. 2018) เกาหลีใต้ 3–6 เม็กซิโก (โยโกฮามะ ประเทศญี่ปุ่น; 31 กรกฎาคม ค.ศ. 2021) เกาหลีใต้ 0–3 ญี่ปุ่น (ทาชเคนต์ ประเทศอุซเบกิสถาน; 12 มิถุนายน ค.ศ. 2022) | |||
กีฬาโอลิมปิก | |||
เข้าร่วม | 8 สมัย (ครั้งแรกใน ค.ศ. 1992) | ||
ผลงานดีที่สุด | ผู้ชนะเลิศเหรียญทองแดง (ค.ศ. 2012) | ||
เอเชียนเกมส์ | |||
เข้าร่วม | 6 สมัย (ครั้งแรกใน ค.ศ. 2002) | ||
ผลงานดีที่สุด | ผู้ชนะเลิศเหรียญทอง (ค.ศ. 2014, 2018, 2022) | ||
เอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี | |||
เข้าร่วม | 5 สมัย (ครั้งแรกใน ค.ศ. 2013) | ||
ผลงานดีที่สุด | ชนะเลิศ (ค.ศ. 2020) | ||
ฟุตบอลทีมชาติเกาหลีใต้รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี (เกาหลี: 대한민국 23세 이하 축구 국가대표팀; ได้รับการยอมรับในฐานะสาธารณรัฐเกาหลีโดยสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ และสาธารณรัฐแห่งเกาหลีโดยคณะกรรมการโอลิมปิกสากล) เป็นตัวแทนของประเทศเกาหลีใต้ในการแข่งฟุตบอลในกีฬาโอลิมปิกและเอเชียนเกมส์ ซึ่งได้รับการก่อตั้งเมื่อฟุตบอลโอลิมปิกเปลี่ยนมาเป็นการแข่งรุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี นอกจากนี้ ยังสามารถจัดการในฐานะทีมอายุต่ำกว่า 21 ปีหรืออายุต่ำกว่า 22 ปีได้หากจำเป็น
เกียรติประวัติ
[แก้]ระหว่างทวีป
[แก้]- ผู้ชนะรางวัลเหรียญทองแดง: ค.ศ. 2012
แห่งทวีป
[แก้]ภูมิภาค
[แก้]- ชนะเลิศ: ค.ศ. 2024
การแข่งรอง
[แก้]- ดันฮิลคัพเวียดนาม: ค.ศ. 1999
- การแข่งสี่ชาติ: ค.ศ. 2000 (ออสเตรเลีย), 2003 (แอฟริกาใต้)[2][3]
- การแข่งกระชับมิตรนานาชาติกาตาร์: ค.ศ. 2005, 2023[4][5]
- ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ: ค.ศ. 2012, 2015
รางวัลอื่น ๆ
[แก้]- รางวัลทีมชาติแห่งปีของสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย: ค.ศ. 2012
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ Yoon, Hyung-jin (29 April 2006). "South Korea - International Results U-23 (Olympic) Team [South Korea (5) – Indonesia (0)]". RDFC. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 April 2016. สืบค้นเมื่อ 29 March 2016.
- ↑ "Australia - Four Nations U-23 Tournament 2000". RSSSF. 15 January 2000. สืบค้นเมื่อ 22 October 2020.
- ↑ "South Africa - Four Nations U-23 Tournament 2003". RSSSF. 1 January 2006. สืบค้นเมื่อ 22 October 2020.
- ↑ "Olympic Teams Tournament (Qatar)". RSSSF. 6 April 2011. สืบค้นเมื่อ 22 October 2020.
- ↑ ‘홍시후 멀티골’ 황선홍호, UAE 3-0 꺾고 도하컵 우승 (ภาษาเกาหลี). KFA. 2023-03-29. สืบค้นเมื่อ 2023-03-29.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- Official website, KFA.or.kr (ในภาษาอังกฤษ)