ข้ามไปเนื้อหา

ธัญยธรณ์ ขันทปราบ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ธัญยธรณ์ ขันทปราบ
รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
ดำรงตำแหน่ง
2 ธันวาคม พ.ศ. 2539 – 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540
นายกรัฐมนตรีพลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด
กนลา ขันทปราบ

9 ตุลาคม พ.ศ. 2489 (78 ปี)
กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย

รองศาสตราจารย์ ธัญยธรณ์ ขันทปราบ เป็นรองศาสตราจารย์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต และอดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ

ประวัติ

[แก้]

รศ.ดร.ธัญยธรณ์ ขันทปราบ เกิดเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2489 ที่เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรของ ศ.(พิเศษ) ขจร กับนางชุลี สุขพานิช แต่เดิมมีชื่อว่านางสาวกนลา สุขพานิช ต่อมาจึงเปลี่ยนมาใช้นามสกุลสามีคือ "ขันทปราบ" และเปลี่ยนชื่อในเวลาต่อมาเป็น "ธัญยธรณ์"[1] เธอสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขารัฐศาสตร์การทูต จากคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระดับปริญญาโท สาขาเอเชียศึกษา จากมหาวิทยาลัยอเมริกัน[2]

การทำงาน

[แก้]

รศ.ดร.ธัญยธรณ์ ขันทปราบ เป็นอาจารย์บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต และเป็นเลขานุการของพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ต่อมาได้รับแต่งตั้งเป็นรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ[3]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. ดร.สุดเริ่ดจาก ไทยรัฐ
  2. ประวัติผู้สมัคร ส.ส.[ลิงก์เสีย]
  3. คำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ ๒๒๔/๒๕๓๙ เรื่อง แต่งตั้งข้าราชการการเมือง (นายวราเทพ รัตนากร, นายสุนัย จุลพงศธร, นายอำนาจ ชนะวงศ์, นางกนลา ขันทปราบ)
  4. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๑๐๘ ตอนที่ ๒๐๘ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๖๕, ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๓๔
  5. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๑๐๖ ตอนที่ ๑๕ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒๔, ๓๑ มกราคม ๒๕๓๒
  6. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญพิทักษ์เสรีชน, เล่ม ๑๐๗ ตอนที่ ๑๑๑ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๓๖, ๒๕ มิถุนายน ๒๕๓๓