ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดสุรินทร์ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดสุรินทร์ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522

← พ.ศ. 2519 22 เมษายน พ.ศ. 2522 พ.ศ. 2526 →

7 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน470,237
ผู้ใช้สิทธิ42.82%
  First party Second party Third party
 
Kukrit Pramoj 1974 (cropped).jpg
Krasae Chanawongse.jpg
ผู้นำ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช กระแส ชนะวงศ์
พรรค ไม่สังกัดพรรค กิจสังคม พลังใหม่
ที่นั่งก่อนหน้า 0 3 1
ที่นั่งที่ชนะ 4 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น4 ลดลง2 Steady0

  Fourth party Fifth party Sixth party
 
Thanat Khoman (cropped).jpg
251946 พรรคธรรมาธิปไตย (2519).png
นายญาติ ไหวดี.jpg
ผู้นำ ถนัด คอมันตร์ เมธี กำเพ็ชร ญาติ ไหวดี
พรรค ประชาธิปัตย์ ธรรมาธิปไตย สังคมก้าวหน้า
ที่นั่งก่อนหน้า 0 1 1
ที่นั่งที่ชนะ 1 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 ลดลง1 ลดลง1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์
คณะปฎิวัติ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. 2522 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2522 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 7 คน จำนวนที่นั่งเพิ่มจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2519 1 ที่นั่ง แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 2 และ 3)[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองสุรินทร์, อำเภอปราสาท, อำเภอจอมพระ, กิ่งอำเภอกาบเชิง และกิ่งอำเภอลำดวน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดสุรินทร์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไม่สังกัดพรรค บุญเกิด นากดี (10)✔ 34,652 ' '
ไม่สังกัดพรรค วิสัณห์ สุดงาม (11) 32,555 ' '
ไม่สังกัดพรรค ญาติ ไหวดี (13)* 24,023 ' '
ไม่สังกัดพรรค สุธี ภูวพันธุ์ (1)✔ 21,430
ไม่สังกัดพรรค ชวาล วรรณศรี (7)✔ 20,672
ไม่สังกัดพรรค สมศักดิ์ เสือสกุล (12) 17,459
ไม่สังกัดพรรค พัฒนา ผ่องใส (4) 14,827
ไม่สังกัดพรรค สุดใจ น่วมจะโป๊ะ (14) 9,822
ไม่สังกัดพรรค วรรณี ศรีสุรินทร์ (2) 7,160
ไม่สังกัดพรรค พันตำรวจเอก วุฒิ สมุทรประภูติ (5) 6,240
ไม่สังกัดพรรค สมัย ยอดพรหม (9) 6,213
ไม่สังกัดพรรค สิน ดุสิตสิน (15) 5,925
เสรีธรรม (พ.ศ. 2522) จำนง แก้วปลั่ง (6) 5,618
ไม่สังกัดพรรค เลื่อน เข็มทอง (3) 4,221
ประชาธิปัตย์ เฉลิมศรี แอกทอง (8) 3,840
ไม่สังกัดพรรค ทิชิต แสนกล้า (16) 2,175
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ไม่สังกัดพรรค ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
ไม่สังกัดพรรค ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
ไม่สังกัดพรรค ได้ที่นั่งจาก สังคมก้าวหน้า

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอศีขรภูมิ, อำเภอสังขะ, อำเภอสำโรงทาบ และกิ่งอำเภอบัวเชด

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดสุรินทร์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจสังคม เหลื่อม พันธ์ฤกษ์ (3)✔ 22,830
ประชาธิปัตย์ วิศิษฐ์ พิพัฒนฑรคานนท์ (4) 15,788
ประชาธิปไตยแห่งชาติ สม ทัดศรี (2) 15,367
ไม่สังกัดพรรค เลื่อน มรกต (1) 12,035
สนับสนุนนโยบายเกรียงศักดิ์ รัตน์ สืบวิสัย (7) 7,071
ไม่สังกัดพรรค ประสงค์ จันทา (6) 6,811
สังคมประชาธิปไตย เชื้อ สันตวง (5) 4,822
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก ธรรมาธิปไตย
ประชาธิปัตย์ ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)

เขตเลือกตั้งที่ 3

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอรัตนบุรี, อำเภอท่าตูม, อำเภอชุมพลบุรี และอำเภอสนม

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดสุรินทร์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไม่สังกัดพรรค สามารถ เจริญรัตน์ (2) 16,906 ' '
พลังใหม่ สมถวิล วชิรรัตนปรัชญ์ (3) 14,633
ไม่สังกัดพรรค อร่าม อามระดิษ (1)* 13,734
ไม่สังกัดพรรค สนั่น สิงหเสนา (8) 11,460
ไม่สังกัดพรรค สาย บุญสรรค์ (5) 10,119
ไม่สังกัดพรรค แจ้ง ดุจเพ็ญ (4) 6,473
ไม่สังกัดพรรค สังข์ สืบยหการ (10) 6,154
กิจสังคม ยุทธ จันทิมาธร (6) 5,366
ไม่สังกัดพรรค คำ คงจันทร์ (9)✔ 4,521
ไม่สังกัดพรรค คำหาญ พูลสุข (7) 3,388
ไม่สังกัดพรรค จตุพร เกษมสุข (11) 2,401
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ไม่สังกัดพรรค ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
พลังใหม่ รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2522. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2523