จังหวัดพิจิตรในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535
หน้าตา
| |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
4 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลงทะเบียน | 352,494 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ผู้ใช้สิทธิ | 58.11% | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
| |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตร กันยายน พ.ศ. 2535 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2535 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 4 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2535 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 2 คน[1]
ภาพรวม
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต
[แก้]สัญลักษณ์และความหมาย | |
* | ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา |
** | ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา |
† | ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์ |
✔ | ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว |
( ) | หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร |
ตัวหนา | ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง |
เขตเลือกตั้งที่ 1
[แก้]เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองพิจิตร, อำเภอสามง่าม, อำเภอโพธิ์ประทับช้าง และอำเภอวังทรายพูน
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดพิจิตร | |||||
---|---|---|---|---|---|
พรรค | ผู้สมัคร | คะแนนเสียง | % | ± | |
ความหวังใหม่ | ไพฑูรย์ แก้วทอง (7)* | 56,091 | |||
ชาติไทย | บุญเสริม ถาวรกูล (5)✔ | 54,027 | |||
ความหวังใหม่ | ธำรง พัฒนรัฐ (8)* | 42,306 | |||
พลังธรรม | สุรชัย เหลาหชัยอรุณ (3) | 15,179 | |||
ประชาธิปัตย์ | เรือตรี พายัพ ผะอบเหล็ก (1)✔ | 10,003 | |||
พลังธรรม | เฉลิม เจ็กแสง (4) | 5,618 | |||
ชาติไทย | โสภณ สิทธิเกษร (6) | 3,520 | |||
ประชาธิปัตย์ | สมเกียรติ เกรียงไกรอนันต์ (2) | 2,699 | |||
ประชากรไทย | สนม จินาพรรณ (9) | 897 | |||
ประชากรไทย | สุรพล แสนสุข (10) | 251 | |||
บัตรดี | – | ||||
ไม่ประสงค์ลงคะแนน | – | ||||
บัตรเสีย | – | ||||
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง | – | ||||
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง | — | ||||
ความหวังใหม่ รักษาที่นั่ง | |||||
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก ความหวังใหม่ |
เขตเลือกตั้งที่ 2
[แก้]เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอตะพานหิน, อำเภอบางมูลนาก, อำเภอโพทะเล และอำเภอทับคล้อ
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดพิจิตร | |||||
---|---|---|---|---|---|
พรรค | ผู้สมัคร | คะแนนเสียง | % | ± | |
ประชาธิปัตย์ | พลตรี สนั่น ขจรประศาสน์ (1)* | 60,983 | |||
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) | พันตำรวจโท สานิตย์ สุรังษี (3) | 49,220 | |||
ความหวังใหม่ | พันตำรวจโท อดุลย์ บุญเสรฐ (5)* | 41,922 | |||
ประชาธิปัตย์ | ปรีชา พฤกษะวัน (2) | 7,984 | |||
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) | อดุลย์ ศิริ (4) | 3,389 | |||
ความหวังใหม่ | วีระ หมู่สุขศรี (6) | 752 | |||
ประชากรไทย | เสรี ไวลาริกรรม (7) | 233 | |||
ประชากรไทย | พงษ์ศักดิ์ พิมพา (8) | 174 | |||
บัตรดี | – | ||||
ไม่ประสงค์ลงคะแนน | – | ||||
บัตรเสีย | – | ||||
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง | – | ||||
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง | — | ||||
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง | |||||
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) ได้ที่นั่งจาก ความหวังใหม่ |
ดูเพิ่ม
[แก้]- จังหวัดพิจิตรในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535
- จังหวัดพิจิตรในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538
อ้างอิง
[แก้]- ↑ ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2535. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2536