จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
United Nations resolution รับข้อมติ in 2565
ข้อมติสมัชชาใหญ่ แห่งสหประชาชาติที่ อีเอส-11/1 |
---|
เห็นชอบ
คัดค้าน
งดออกเสียง
ไม่มา
ไม่ใช่สมาชิกยูเอ็น |
วันที่ | 2 มีนาคม 2565 |
---|
การประชุม ครั้งที่ | สมัยประชุมพิเศษฉุกเฉินที่ 11 |
---|
รหัส | A/RES/ES-11/1 (เอกสาร) |
---|
เรื่อง | การรุกรานยูเครน |
---|
สรุปการลงคะแนนเสียง | - รับ 141 เสียง
- ไม่รับ 5 เสียง
- งดออกเสียง 35 เสียง
- 12 ไม่มา
|
---|
ผล | รับข้อมติ |
---|
ข้อมติสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติที่ อีเอส-11/1 เป็นข้อมติของสมัยประชุมพิเศษฉุกเฉินที่ 11 ของสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ ลงมติรับเมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2565 มีใจความคัดค้านการรุกรานยูเครนของรัสเซีย พ.ศ. 2565 และเรียกร้องให้รัสเซียถอนทหารออกไป รวมทั้งเพิกถอนการวินิจฉัยรับรองสาธารณรัฐประชาชนดอแนตสก์และสาธารณรัฐประชาชนลูฮันสก์ ย่อหน้า 10 ของข้อมติฯ นี้ยืนยันว่าเบลารุสมีส่วนในการใช้กำลังโดยมิชอบด้วยกฎหมายต่อยูเครน[1] ข้อมติฯ นี้มี 141 ประเทศลงมติเห็นชอบ 5 ประเทศลงมติคัดค้าน และ 35 ประเทศงดออกเสียง[2]
ออกเสียง[3]
|
จำนวน
|
รัฐ
|
% ของเสียง
|
% ของสมาชิก ยูเอ็นทั้งหมด
|
เห็นชอบ
|
141
|
กรีซ, กรีเนดา, กัมพูชา, กัวเตมาลา, กาตาร์, กานา, กาบอง, กาบูเวร์ดี, กายอานา, เกาหลีใต้, แกมเบีย, โกตดิวัวร์, คอโมโรส, คอสตาริกา, คิริบาส, คูเวต, เคนยา, แคนาดา, โครเอเชีย, โคลอมเบีย, จอร์เจีย, จอร์แดน, จาเมกา, จิบูตี, ชาด, ชิลี, เช็กเกีย, ซานมารีโน, ซามัว, ซาอุดีอาระเบีย, ซูรินาม, เซเชลส์, เซนต์คิตส์และเนวิส, เซนต์ลูเชีย, เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์, เซอร์เบีย, เซาตูแมอีปริงซีป, เซียร์ราลีโอน, แซมเบีย, โซมาเลีย, ไซปรัส, ญี่ปุ่น, ดอมินีกา, เดนมาร์ก, ตรินิแดดและโตเบโก, ตองงา, ติมอร์-เลสเต, ตุรกี, ตูนิเซีย, ตูวาลู, ไทย, นอร์เวย์, นาอูรู, นิวซีแลนด์, เนเธอร์แลนด์, เนปาล, ไนจีเรีย, ไนเจอร์, บราซิล, บรูไน, บอตสวานา, บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา, บัลแกเรีย, บาร์เบโดส, บาห์เรน, บาฮามาส, เบนิน, เบลเยียม, เบลีซ, ปานามา, ปาปัวนิวกินี, ปารากวัย, ปาเลา, เปรู, โปรตุเกส, โปแลนด์, ฝรั่งเศส, พม่า, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ฟีจี, ภูฏาน, มอนเตเนโกร, มอริเชียส, มอริเตเนีย, มอลโดวา, มอลตา, มัลดีฟส์, มาซิโดเนียเหนือ, มาลาวี, มาเลเซีย, เม็กซิโก, โมนาโก, ไมโครนีเชีย, ยูเครน, เยเมน, เยอรมนี, รวันดา, โรมาเนีย, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลิทัวเนีย, ลิเบีย, ลีชเทินชไตน์, เลโซโท, เลบานอน, ไลบีเรีย, วานูวาตู, สเปน, สโลวาเกีย, สโลวีเนีย, สวิตเซอร์แลนด์, สวีเดน, สหรัฐ, สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์, สหราชอาณาจักร, สาธารณรัฐโดมินิกัน, สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก, สิงคโปร์, หมู่เกาะโซโลมอน, หมู่เกาะมาร์แชลล์, ออสเตรเลีย, ออสเตรีย, อันดอร์รา, อัฟกานิสถาน, อาร์เจนตินา, อิตาลี, อินโดนีเซีย, อิสราเอล, อียิปต์, อุรุกวัย, เอกวาดอร์, เอสโตเนีย, แอนทีกาและบาร์บิวดา, แอลเบเนีย, โอมาน, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, ฮอนดูรัส, ฮังการี, เฮติ
|
77.90%
|
73.06%
|
คัดค้าน
|
5
|
เกาหลีเหนือ, ซีเรีย, เบลารุส, รัสเซีย, เอริเทรีย
|
2.76%
|
2.59%
|
งดออกเสียง
|
35
|
คาซัคสถาน, คิวบา, คีร์กีซสถาน, จีน, ซิมบับเว, ซูดาน, ซูดานใต้, เซเนกัล, ทาจิกิสถาน, แทนซาเนีย, นามิเบีย, นิการากัว, บังกลาเทศ, บุรุนดี, โบลิเวีย, ปากีสถาน, มองโกเลีย, มาดากัสการ์, มาลี, โมซัมบิก, ยูกันดา, ลาว, เวียดนาม, ศรีลังกา, สาธารณรัฐคองโก, สาธารณรัฐแอฟริกากลาง, อาร์มีเนีย, อิเควทอเรียลกินี, อินเดีย, อิรัก, อิหร่าน, เอลซัลวาดอร์, แองโกลา, แอฟริกาใต้, แอลจีเรีย
|
19.34%
|
18.13%
|
ไม่มา
|
12
|
กินี, กินี-บิสเซา, แคเมอรูน, เติร์กเมนิสถาน, โตโก, บูร์กินาฟาโซ, โมร็อกโก, เวเนซุเอลา,[a] อาเซอร์ไบจาน, อุซเบกิสถาน, เอธิโอเปีย, เอสวาตินี
|
–
|
6.18%
|
รวม
|
193
|
–
|
100%
|
100%
|
- ↑ เวเนซุเอลาถูกระงับไม่ให้ลงคะแนนเสียงในสมัยประชุมที่ 76 และสมัยประชุมพิเศษฉุกเฉินที่ 11 เนื่องจากไม่ได้ชำระค่าบำรุงสมาชิกในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา ทำให้ไม่ได้รับการยกเว้นเป็นกรณีพิเศษจากสมัชชา[4]