โกปาอาเมริกา 2019
คอนเมบอล โกปาอาเมริกา บราซิล 2019 | |
---|---|
![]() | |
รายละเอียดการแข่งขัน | |
ประเทศเจ้าภาพ | บราซิล |
วันที่ | 14 มิถุนายน – 7 กรกฎาคม ค.ศ. 2019 |
ทีม | 12 (จาก 2 สมาพันธ์) |
สถานที่ | 6 (ใน 5 เมืองเจ้าภาพ) |
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน | |
ชนะเลิศ | ![]() |
รองชนะเลิศ | ![]() |
อันดับที่ 3 | ![]() |
อันดับที่ 4 | ![]() |
สถิติการแข่งขัน | |
จำนวนนัดที่แข่งขัน | 26 |
จำนวนประตู | 60 (2.31 ประตูต่อนัด) |
ผู้ชม | 797,277 (30,665 คนต่อนัด) |
ผู้ทำประตูสูงสุด | ![]() ![]() (คนละ 3 ประตู) |
ผู้เล่นยอดเยี่ยม | ![]() |
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยม | ![]() |
โกปาอาเมริกา 2019 เป็นการแข่งขันฟุตบอลโกปาอาเมริกา ครั้งที่ 49 ซึ่งเป็นการแข่งขันฟุตบอลชายระดับนานาชาติในทวีปอเมริกาใต้ จัดการแข่งขันขึ้นโดยคอนเมบอลที่ประเทศบราซิล โดยจัดขึ้นระหว่างวันที่ 11 มิถุนายน ถึง 4 กรกฎาคม ค.ศ. 2019
โดยทีมชาติชิลีจะแข่งในฐานะแชมป์เก่า หลังจากคว้าแชมป์ 2 ปี ติดต่อกันในปี 2015 และ 2016 (เซนเตนาริโอ) ซึ่งในปีนี้พวกเขาจบการแข่งขันลงในอันดับที่ 4 หลังจากพ่ายแพ้ต่อ อาร์เจนตินา ในนัดชิงที่สาม 2–1 ขณะที่ทีมบราซิล ชนะเลิศการแข่งขันในปีนี้เป็นสมัยที่ 9 ได้สำเร็จหลังจากเอาชนะ เปรู ได้ในรอบชิงชนะเลิศ 3–1 ที่สนามกีฬามารากานัง
โกปาอาเมริกา 2019 จะเป็นครั้งสุดท้ายที่จะแข่งขันในปีคี่ ก่อนที่จะเริ่มแข่งขันในปีคู่จากกำหนดเดิมในปี ค.ศ. 2020 ซึ่งภายหลังการแข่งขันในปีดังกล่าว ได้ถูกเลื่อนออกไปแข่งในปี ค.ศ. 2021 หลังจากการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า ทำให้การเริ่มการแข่งขันในปีคู่ จะเกิดขึ้นครั้งแรกในปี ค.ศ. 2024 ซึ่งจะจัดในห้วงเวลาที่ใกล้เคียงกับ ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป[1][2]
การคัดเลือกเจ้าภาพ
[แก้]ในการแข่งขันโกปาอาเมริกานั้นสมาคมฟุตบอลอเมริกาใต้จะคัดเลือกเจ้าภาพจากการเรียงตัวอักษรและทำให้โกปาอาเมริกา 2019 นั้นชิลีจะได้เป็นเจ้าภาพ และ บราซิลจะได้เป็นเจ้าภาพในปี 2015 แต่เนื่องจากประเทศบราซิลนั้นได้รับการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2013 ฟุตบอลโลก 2014 และ โอลิมปิกฤดูร้อน 2016 ซี่งบราซิลจึงไม่ประสงค์ที่ที่จะเป็นเจ้าภาพในการแข่งขันโกปาอาเมริกา 2015 อีก ซึ่งคอนเมบอลได้อนุมัติให้สลับการเป็นเจ้าภาพเมื่อปี ค.ศ. 2012[3][4]
ทีม
[แก้]นอกเหนือจากสิบชาติที่อยู่ในสมาพันธ์ฟุตบอลอเมริกาใต้ (คอนเมบอล) ซึ่งได้แข่งขันอย่างแน่นอนอยู่แล้วนั้น คอนเมบอล เริ่มวางแผนที่จะจัดการแข่งขัน 16 ทีมโดยเชิญหกทีมภายนอกมาแข่งขัน. ในวันที่ 16 มีนาคม ค.ศ. 2018, คอนเมบอลได้ประกาศว่าจะเชิญ 3 ทีมจากสมาพันธ์ฟุตบอลอเมริกาเหนือ อเมริกากลาง และแคริบเบียน (คอนคาแคฟ) และ 3 ทีมจาก สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี) มาเข้าร่วมแข่งขันในครั้งนี้ [5][6] ในวันที่ 12 เมษายน ค.ศ. 2018, มีการประกาศว่า กาตาร์ ซึ่งเป็นเจ้าภาพการแข่งขันฟุตบอลโลก 2022 ได้ยอมรับคำเชิญให้เข้าร่วมการแข่งขัน,[7] ในวันที่ 4 พฤษภาคม ค.ศ. 2018 คอนเมบอล ประกาศว่าจะมีทีมเข้าร่วมแข่งขันทั้งสิ้น 12 ทีม เท่าเดิมกับจำนวนทีมตั้งแต่ปี ค.ศ. 1993 เป็นต้นมา (หากไม่นับรวมการแข่งขันที่ฉลองครบ 100 ปี ในปี 2016) โดยอีกหนึ่งชาติที่เข้าร่วมคือ ญี่ปุ่น จากเอเอฟซี (ทวีปเอเชีย) [8]
กาตาร์จะกลายเป็นประเทศแรกในกลุ่มประเทศอาหรับ ที่ได้เข้าร่วมการแข่งขันโกปาอาเมริกา ขณะที่ญี่ปุ่นจะปรากฏเข้าร่วมแข่งขันเป็นครั้งที่สองของพวกเขา โดยครั้งแรกได้แข่งขันในปี ค.ศ. 1999 ซึ่งได้ตกรอบในรอบแบ่งกลุ่ม, การแข่งขันในครั้งนี้จะเป็นครั้งแรกที่ไม่มีทีมจาก คอนคาแคฟ เข้าแข่งขันนับตั้งแต่มีการเชิญทีมนอกทวีปมาร่วมแข่งขันในปี ค.ศ. 1993 โดยเม็กซิโกซึ่งได้ลงแข่งขันครบทั้ง 10 ครั้งตั้งแต่ปีดังกล่าว ก็จะไม่ได้ร่วมเล่นในโกปาอาเมริกาครั้งนี้ด้วย
สนามการแข่งขัน
[แก้]ในวันที่ 14 มิถุนายน ค.ศ. 2018 รองประธานสมาพันธ์ฟุตบอลบราซิล เฟร์นังดู ซาร์เนย์ ได้ประกาศห้าเมืองที่จะเป็นเจ้าภาพการแข่งขันคือ ซัลวาดอร์, โปร์ตูอาเลกรี, เซาเปาลู, เบโลโอรีซอนชี และรีโอเดจาเนโร การประกาศรายชื่อสนามแข่งขันเกิดขึ้นในวันที่ 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 2018.[9] โดยนักเปิดสนามจะแข่งขันที่ เอสตาจีอูดูโมรุงบี ใน เซาเปาลู, รอบรองชนะเลิศจะแข่งขันที่สนาม เอสตาจีอูดูเกรมีอู ใน โปร์ตูอาเลกรี และ เอสตาจีอูมีเนย์เรา ใน เบโลโอรีซอนชี, โดยนัดชิงชนะเลิศจะแข่งขันที่สนาม เอสจาจีอูดูมารากานัง ใน ริโอเดจาเนโร.[10]ในวันที่ 23 พฤศจิกายน ค.ศ. 2018 คอนเมบอลได้ประกาศว่าการแข่งขันจะใช้สนามอาเรนาโกริงชังส์ แทนที่ของสนาม อลิอันซ์ปราดคี ที่ได้กำหนดไว้แต่เดิม ซึ่งตั้งอยู่ในเซาเปาลู เช่นกัน[11]
ริโอเดจาเนโร | เซาเปาลู | |||
---|---|---|---|---|
เอสตาจีอูดูมารากานัง | เอสตาจีอูดูโมรุงบี | อาเรนาโกริงชังส์ | ||
ความจุ: 74,738 | ความจุ: 67,428 | ความจุ: 49,205 | ||
![]() |
![]() |
![]() | ||
เบโลโอรีซอนชี | โปร์ตูอาเลกรี | ซัลวาดอร์ | ||
มีเนย์เรา | เอสตาจีอูดูเกรมีอู | อาเรนาฟงชีนอวา | ||
ความจุ: 58,170 | ความจุ: 55,662 | ความจุ: 51,900 | ||
![]() |
![]() |
![]() |
การจับสลาก
[แก้]การจับสลากเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 24 มกราคม ค.ศ. 2019 ที่ Cidade das Artes ในริโอเดอจาเนโร ประเทศบราซิล[12][13] โดยโถจับสลากมีทั้งหมด 4 โดยจับหนึ่งทีมในแต่ละโถมารวมกันเพื่อจะได้ 4 ทีมที่จะอยู่ในกลุ่มเดียวกัน
ซึ่งการประชุมสภา คอนเมบอล เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน ค.ศ. 2018 นั้น มีการตัดสินใจว่าจะใช้อันดับโลกฟีฟ่า เป็นตัวในการแบ่งโถโดยมติครั้งนี้จะใช้ต่อไปในครั้งต่อ ๆ ไปของโกปาอาเมริกา[14]
ซึ่งในโกปาอาเมริกา 2019 นั้นจะใช้อันดับโลกฟีฟ่าครั้งล่าสุดในขณะวันที่จับ ณ วันที่ 20 ธันวาคม ค.ศ. 2018 โดยอันดับฟีฟ่าจะเว้นวรรคอยู่หลังชื่อทีมดังนี้[15]โดยโถแบ่งออกเป็น 4 โถ โถที่หนึ่งนั้นมี ทีมชาติบราซิล (ได้รับตำแหน่งสูงสุดในโถ 1 โดยอัตโนมัติอยู่แล้ว) และ อีก 2 ทีมที่อันดับโลกดีที่สุด และอีก 3 ทีมที่ดีที่สุดรองลงมาจะอยู่ในโถ 2, 3, 4 ค่อไป โดยทีมที่อยู่ในโถที่ 1 จะถูกจับสลากมาอยู่ในกลุ่มเดียวกับทีมในโถ่ อื่นๆ ทั้ง 3 รวมเป็น 4 ทีม, แต่ กาตาร์ และ ญี่ปุ่น สองทีมที่ได้รับเชิญมานั้นจะไม่สามารถอยู่กลุ่มเดียวกันได้ [16]
โถ 1 | โถ 2 | โถ 3 | โถ 4 |
---|---|---|---|
|
|
ผู้ตัดสิน
[แก้]รายชื่อผู้ตัดสินรวม 23 คน และผู้ช่วยผู้ตัดสินอีก 23 คน ได้รับการประกาศเมื่อวันที่ 21 มีนาคม ค.ศ. 2019[17][18]
สมาคม | ผู้ตัดสิน | ผู้ช่วยผู้ตัดสิน |
---|---|---|
![]() |
เนสตอร์ ปิตานา เฟร์นันโด ราปาลินิ ปาตริซิโอ ลุสโต |
เอร์นัน ไมดานา ฆวน ปาโบล เบลาติ เอเซกิเอล ไบรลอบส์กิ |
![]() |
เกริ บาร์กัส | โฆเซ อันเตโล เอดวาร์ ซาอาเบดรา |
![]() |
วิลตง ซังไปยู ราฟาแอล เกลาส์ อังเดร์ซง ดารงกู |
โรดรีกู โกเรอา มาร์เซลู วัง กาซี แกลเบร์ ลูซียู ฌิล |
![]() |
โรเบร์โต โตบาร์ ฆูลิโอ บัสกุญญัน ปิเอโร มาซา |
กริสเตียน ชิเอมัน เกลาดิโอ ริโอส |
![]() |
วิลมาร์ โรลดัน อันเดรส โรฮัส นิโกลัส กาโย |
อาเลกซันเดร์ กุซมัน วิลมาร์ นาบาร์โร ยอน อาเลกซันเดร์ เลออน |
![]() |
โรดิ ซัมบราโน การ์โลส ออร์เบ |
กริสเตียน เลสกาโน ไบรอน โรเมโร |
![]() |
มาริโอ ดิอัซ เด บิบาร์ อาร์นัลโด ซามานิเอโก |
เอดัวร์โด การ์โดโซ ดาริโอ กาโอนา |
![]() |
ดิเอโก อาโร บิกตอร์ การ์ริโย |
โยนิ โบซิโอ บิกตอร์ ราเอซ |
![]() |
เอสเตบัน โอสโตฆิช เลโอดัน กอนซาเลซ |
นิโกลัส ตารัน ริชาร์ด ตรินิดัด |
![]() |
อาเลกซิส เอร์เรรา เฮซุส บาเลนซูเอลา |
การ์โลส โลเปซ ลุยส์ มูริโย |
ผู้เล่น
[แก้]โดยแต่ล่ะทีมจะมีผู้เล่น 23 คน โดยทุกทีมจะต้องส่งรายชื่อ 3 คนในตำแหน่งผู้รักษาประตู.[19]
รอบแบ่งกลุ่ม
[แก้]กำหนดการการแข่งขันประกาศเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม ค.ศ. 2018 [14] ผู้ชนะและรองชนะเลิศของแต่ละกลุ่มและอันดับสามทีมที่ดีที่สุด 2 ทีมจากทุกกล่มจะเข้าสู่รอบแพ้คัดออก รวมทั้งสิ้น 8 ทีม
เวลาทั้งหมดที่ระบุข้างล่างนี้เป็นเวลาท้องถิ่น, (UTC−3).[20]
กฎการจัดอันดับรอบแบ่งกลุ่ม
[แก้]การจัดลำดับทีมในตารางคะแนนจะมีดังนี้:[19]
- คะแนนในทุกเกมที่แข่งขัน (สามแต้ม หากชนะ, หนึ่งแต้มหากเสมอ, และไม่ได้หากแพ้);
- ประตูได้เสียในทุกเกมที่แข่งขัน;
- จำนวนประตูได้ในทุกเกมที่แข่งขัน;
- คะแนนที่ได้จากการแข่งขันที่เล่นระหว่างทีมที่มีลำดับเท่ากัน;
- ประตูได้เสียที่ได้จากการแข่งขันที่เล่นระหว่างทีมที่มีลำดับเท่ากัน;
- ประตูได้จากการแข่งขันที่เล่นระหว่างทีมที่มีลำดับเท่ากัน;
- คะแนนความประพฤติในทุกเกมที่แข่งขัน (สามารถนำการหักเงินไปใช้กับผู้เล่นได้เพียงครั้งเดียวในนัดเดียว):
- ใบเหลือง: −1 คะแนน;
- ใบแดงจากการโดนใบเหลืองที่สอง: −3 คะแนน;
- ใบแดงโดยตรง: −4 คะแนน;
- ใบแดงโดยตรงและก่อนหน้านั้นได้ใบเหลืองมาแล้ว: −5 คะแนน;
- จับสลาก
กลุ่มเอ
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ![]() |
3 | 2 | 1 | 0 | 8 | 0 | +8 | 7 | ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก |
2 | ![]() |
3 | 1 | 2 | 0 | 3 | 1 | +2 | 5 | |
3 | ![]() |
3 | 1 | 1 | 1 | 3 | 6 | −3 | 4 | |
4 | ![]() |
3 | 0 | 0 | 3 | 2 | 9 | −7 | 0 |
โบลิเวีย ![]() | 1–3 | ![]() |
---|---|---|
ฆุสติเนียโน ![]() |
รายงาน | มาชิส ![]() มาร์ติเนซ ![]() |
กลุ่มบี
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ![]() |
3 | 3 | 0 | 0 | 4 | 0 | +4 | 9 | ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก |
2 | ![]() |
3 | 1 | 1 | 1 | 3 | 3 | 0 | 4 | |
3 | ![]() |
3 | 0 | 2 | 1 | 3 | 4 | −1 | 2 | |
4 | ![]() |
3 | 0 | 1 | 2 | 2 | 5 | −3 | 1 |
อาร์เจนตินา ![]() | 0–2 | ![]() |
---|---|---|
รายงาน | มาร์ติเนซ ![]() เด. ซาปาตา ![]() |
ปารากวัย ![]() | 2–2 | ![]() |
---|---|---|
การ์โดโซ ![]() กอนซาเลซ ![]() |
รายงาน | อะลี ![]() เอเร. โรฆัส ![]() |
กลุ่มซี
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ![]() |
3 | 2 | 1 | 0 | 7 | 2 | +5 | 7 | ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก |
2 | ![]() |
3 | 2 | 0 | 1 | 6 | 2 | +4 | 6 | |
3 | ![]() |
3 | 0 | 2 | 1 | 3 | 7 | −4 | 2 | |
4 | ![]() |
3 | 0 | 1 | 2 | 2 | 7 | −5 | 1 |
เอกวาดอร์ ![]() | 1–2 | ![]() |
---|---|---|
เอ. บาเลนเซีย ![]() |
รายงาน | ฟูเอนซาลิดา ![]() ซันเชซ ![]() |
ตารางคะแนนอันดับที่สาม
[แก้]อันดับ | กลุ่ม | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | A | ![]() |
3 | 1 | 1 | 1 | 3 | 6 | −3 | 4 | ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก |
2 | B | ![]() |
3 | 0 | 2 | 1 | 3 | 4 | −1 | 2 | |
3 | C | ![]() |
3 | 0 | 2 | 1 | 3 | 7 | −4 | 2 |
รอบแพ้คัดออก
[แก้]ในรอบแพ้คัดออก, จะแข่งขันกันในเวลาปกติ 90 นาที
- ในรอบก่อนรองชนะเลิศ, หากเสมอกัน จะไม่มีการต่อเวลาพิเศษ, จะตัดสินด้วยการด้วยการดวลลูกโทษ เพื่อหาผู้ชนะทันที
- ในรอบรองชนะเลิศ,นัดชิงอันดับที่สาม, นัดชิงชนะเลิศ, หากเสมอกันจะมีการต่อเวลาพิเสษ 30 นาที (โดยแบ่งเป็นครึ่งละ 15 นาที) โดยสามารถเปลี่ยนตัวผู้เล่นคนที่สี่ได้ แต่หากยังเสมอกันอยู่จะใช้การดวลลูกโทษตัดสินเพื่อหาผู้ชนะในที่สุด
สายการแข่งขัน
[แก้]รอบก่อนรองชนะเลิศ | รอบรองชนะเลิศ | รอบชิงชนะเลิศ | ||||||||
27 มิถุนายน – โปร์ตูอาเลกรี | ||||||||||
![]() | 0 (4) | |||||||||
2 กรกฎาคม – เบโลโอรีซอนชี | ||||||||||
![]() | 0 (3) | |||||||||
![]() | 2 | |||||||||
28 มิถุนายน – ริโอเดจาเนโร | ||||||||||
![]() | 0 | |||||||||
![]() | 0 | |||||||||
7 กรกฎาคม – ริโอเดจาเนโร | ||||||||||
![]() | 2 | |||||||||
![]() | 3 | |||||||||
28 มิถุนายน – เซาเปาลู (โกริงชังส์) | ||||||||||
![]() | 1 | |||||||||
![]() | 0 (4) | |||||||||
3 กรกฎาคม – โปร์ตูอาเลกรี | ||||||||||
![]() | 0 (5) | |||||||||
![]() | 0 | |||||||||
29 มิถุนายน – ซัลวาดอร์ | ||||||||||
![]() | 3 | นัดชิงอันดับที่สาม | ||||||||
![]() | 0 (4) | |||||||||
6 กรกฎาคม – เซาเปาลู (โกริงชังส์) | ||||||||||
![]() | 0 (5) | |||||||||
![]() | 2 | |||||||||
![]() | 1 | |||||||||
รอบก่อนรองชนะเลิศ
[แก้]บราซิล ![]() | 0–0 | ![]() |
---|---|---|
รายงาน | ||
ลูกโทษ | ||
วีลียัง ![]() มาร์กิญญุส ![]() โกชิญญู ![]() ฟีร์มีนู ![]() กาบรีแยล เฌซุส ![]() |
4–3 | ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() |
โคลอมเบีย ![]() | 0–0 | ![]() |
---|---|---|
รายงาน | ||
ลูกโทษ | ||
โรดริเกซ ![]() การ์โดนา ![]() กัวดราโด ![]() มินา ![]() เตซิโย ![]() |
4–5 | ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() |
อุรุกวัย ![]() | 0–0 | ![]() |
---|---|---|
รายงาน | ||
ลูกโทษ | ||
ซัวเรซ ![]() กาบานิ ![]() เอสตัวนิ ![]() เบนตังกูร์ ![]() ตอร์เรย์รา ![]() |
4–5 | ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() |
รอบรองชนะเลิศ
[แก้]บราซิล ![]() | 2–0 | ![]() |
---|---|---|
กาบรีแยล เฌซุส ![]() ฟีร์มีนู ![]() |
รายงาน |
นัดชิงอันดับที่สาม
[แก้]รอบชิงชนะเลิศ
[แก้]บราซิล ![]() | 3–1 | ![]() |
---|---|---|
แอแวร์ตง ![]() กาบรีแยล เฌซุส ![]() รีชาร์ลีซง ![]() |
รายงาน | เกร์เรโร ![]() |
สถิติ
[แก้]ผู้ทำประตู
[แก้]มีการทำประตู 60 ประตู จากการแข่งขัน 26 นัด เฉลี่ย 2.31 ประตูต่อนัด
การทำประตู 3 ครั้ง
การทำประตู 2 ครั้ง
การทำประตู 1 ครั้ง
เปาโล ดิบาลา
โยบานิ โล เซลโซ
ลิโอเนล เมสซิ
เลโอเนล ฆุสติเนียโน
มาร์เซโล มาร์ตินส์
กาเซมีรู
ดานีแยล อัลวิส
รีชาร์ลีซง
วีลียัง
โฆเซ เปโดร ฟูเอนซาลิดา
เอริก ปุลการ์
อาร์ตูโร บิดัล
กุสตาโบ กูเอยาร์
โรเยร์ มาร์ติเนซ
อังเฆล เมนา
เอเนร์ บาเลนเซีย
โชยะ นากาจิมะ
โอสการ์ การ์โดโซ
เดร์ลิส กอนซาเลซ
ริชาร์ด ซันเชซ
เยเฟร์ซอน ฟาร์ฟัน
โยชิมาร์ โยตุน
อัลมัวะอซ์ อะลี
โฆเซ ฆิเมเนซ
นิโกลัส โลเดย์โร
โยเซฟ มาร์ติเนซ
การทำเข้าประตูตัวเอง 1 ครั้ง
อาร์ตูโร มินา (ในนัดที่พบกับ อุรุกวัย)
โรดริโก โรฆัส (ในนัดที่พบกับ กาตาร์)
ตารางการจัดอันดับหลังจบการแข่งขัน
[แก้]ตามแบบแผนทางสถิติในฟุตบอล, การแข่งขันที่ตัดสินในช่วงต่อเวลาจะถูกนับเป็นชัยชนะและการแพ้ด้วยการดวลลูกโทษจะนับเป็นเสมอ
อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | ผลงานในรอบสุดท้าย |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ![]() |
6 | 4 | 2 | 0 | 13 | 1 | +12 | 14 | ชนะเลิศ |
2 | ![]() |
6 | 2 | 2 | 2 | 7 | 9 | −2 | 8 | รองชนะเลิศ |
3 | ![]() |
6 | 3 | 1 | 2 | 7 | 6 | +1 | 10 | อันดับที่สาม |
4 | ![]() |
6 | 2 | 1 | 3 | 7 | 7 | 0 | 7 | อันดับที่สี่ |
5 | ![]() |
4 | 3 | 1 | 0 | 4 | 0 | +4 | 10 | ตกรอบใน รอบก่อนรองชนะเลิศ |
6 | ![]() |
4 | 2 | 2 | 0 | 7 | 2 | +5 | 8 | |
7 | ![]() |
4 | 1 | 2 | 1 | 3 | 3 | 0 | 5 | |
8 | ![]() |
4 | 0 | 3 | 1 | 3 | 4 | −1 | 3 | |
9 | ![]() |
3 | 0 | 2 | 1 | 3 | 7 | −4 | 2 | ตกรอบใน รอบแบ่งกลุ่ม |
10 | ![]() |
3 | 0 | 1 | 2 | 2 | 5 | −3 | 1 | |
11 | ![]() |
3 | 0 | 1 | 2 | 2 | 7 | −5 | 1 | |
12 | ![]() |
3 | 0 | 0 | 3 | 2 | 9 | −7 | 0 |
รางวัล
[แก้]- รางวัลผู้เล่นทรงคุณค่า:
ดานีแยล อัลวิส
- รางวัลดาวซัลโวสูงสุด:
แอแวร์ตง (3 ประตู)
- รางวัลผู้รักษาประตูยอดเยี่ยม:
อาลีซง
- รางวัลทีมแฟร์เพลย์:
บราซิล
ทีมยอดเยี่ยมประจำทัวร์นาเมนต์
[แก้]ผู้รักษาประตู | กองหลัง | กองกลาง | กองหน้า |
---|---|---|---|
|
|
|
การตลาด
[แก้]ตัวนำโชค
[แก้]
ตัวนำโชค หรือ มาสคอตประจำการแข่งขันครั้งนี้คือ ซิซิโต โดยเป็นตัวแคพิบารา โดยชื่อนั้นตั้งตามชื่อของ ซิซิโต นักฟุตบอลชาวบราซิล ผู้ล่วงลับ ผู้ทำประตูสูงสุดตลอดกาลของโกปาอาเมริกาที่ 17 ประตู โดยเทียบเท่ากับ นอเบร์โต โดโรตีโอ เมนเดซ กองหน้าชาวอาร์เจนตินา[47]
คำขวัญ
[แก้]คำขวัญประจำการแข่งขันโกปาอาเมริกา 2019 คือ "Vibra el Continente/Vibra o Continente" (Rocking the Continent).
เพลงประจำการแข่งขัน
[แก้]เพลงประจำการแข่งขัน คือ เพลง "วีบรา โกติเนนเต" โดย เลโอ ซันตานา และ กาโรล เค ศิลปินชาวบราซิลและชาวโคลอมเบีย ตามลำดับ[48]
สิทธิการออกอากาศ
[แก้]คอนเมบอล
[แก้]ประเทศ | สถานีการออกอากาศ | หมายเหตุ | อ้างอิง |
---|---|---|---|
![]() |
Rede Globo | นัดที่ได้ทำการเลือกถ่ายทอดสดไว้ (รวมไปถึงนัดที่ทีมชาติบราซิลลงสนามทั้งหมดและนัดชิงชนะเลิศ) | [49] |
SporTV | ทั้งหมด 26 นัดที่ถ่ายทอดสด | [50][51] | |
![]() |
DirecTV Sports | ทั้งหมด 26 นัดที่ถ่ายทอดสด | |
![]() |
Televisión Pública Argentina | ทุกนัดที่เลือกไว้ (รวมไปถึงนัดเปิดสนามหนึ่งนัดและทุกนัดที่ทีมชาติอาร์เจนตินาลงสนาม) | [52] |
TyC Sports | ทุกนัดที่เลือกไว้ | ||
![]() |
Bolivia TV | ทุกนัดที่เลือกไว้ | |
Tigo Sports | ทุกนัดที่เลือกไว้ | ||
![]() |
|||
![]() |
Canal 13 | ถ่ายทอดสดทุกนัดที่เลือกไว้ (รวมไปถึงนัดเปิดสนามหนึ่งนัด, ทั้งหมดที่ทีมชาติชิลีลงสนาม, และนัดชิงชนะเลิศ) | [53] |
TVN | |||
CDF | |||
![]() |
Caracol Televisión | ถ่ายทอดสดทุกนัดที่เลือกไว้ (รวมไปถึงนัดเปิดสนามหนึ่งนัด, ทั้งหมดที่ทีมชาติโคลอมเบียลงสนาม, และนัดชิงชนะเลิศ) | |
![]() |
Teleamazonas | ทั้งหมด 26 นัดที่ถ่ายทอดสด | [54] |
![]() |
América Televisión | 23 จาก 26 นัดที่ถ่ายทอดสด (รวมไปถึงนัดเปิดสนามหนึ่งนัด, ทั้งหมดที่ทีมชาติเปรูลงสนาม, และนัดชิงชนะเลิศ) | [55] |
![]() |
Teledoce | ถ่ายทอดสดทุกนัดที่เลือกไว้ (รวมไปถึงนัดเปิดสนามหนึ่งนัด, ทั้งหมดที่ทีมชาติอุรุกวัยลงสนาม) | |
Dexary | ทั้งหมด 26 นัดที่ถ่ายทอดสด | [56] | |
![]() |
TVES | ทั้งหมด 26 นัดที่ถ่ายทอดสด | [57] |
IVC | ทั้งหมด 26 นัดที่ถ่ายทอดสด | ||
Venevisión | ถ่ายทอดสดทุกนัดที่เลือกไว้ (รวมไปถึงรอบสุดท้ายและนัดชิงชนะเลิศ, ทั้งหมดที่ทีมชาติเวเนซุเอลาลงสนาม) |
คอนคาแคฟ
[แก้]ประเทศ | สถานีการออกอากาศ | หมายเหตุ | อ้างอิง |
---|---|---|---|
![]() |
TSN (อังกฤษ) | ทั้งหมด 26 นัดที่ถ่ายทอดสด | [58][59] |
RDS (ฝรั่งเศส) | [60] | ||
แม่แบบ:Country data Caribbean | Digicel | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสดทางช่อง SportsMax | [61] |
ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสดตามลำดับ | |||
![]() |
TV Azteca | ถ่ายทอดสดทุกนัดที่เลือกไว้ (รวมไปถึงนัดเปิดสนามหนึ่งนัดและนัดชิงชนะเลิศ) | |
![]() |
Repretel | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสดทางช่อง 6 และ 11 | [62] |
![]() |
TCS | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสด | |
![]() |
Canal 6 | ถ่ายทอดสดทุกนัดที่เลือกไว้ (รวมไปถึงนัดเปิดสนามหนึ่งนัดและนัดชิงชนะเลิศ) | |
Tigo Sports | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสด | ||
![]() |
RPC-TV | ถ่ายทอดสดทุกนัดที่เลือกไว้ตามลำดับ | [63] |
TVMax | [64] | ||
![]() |
ESPN | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสดในภาษาอังกฤษและภาษาโปรตุเกสทางช่อง ESPN+ | [65] |
NBC Sports Group | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสดในภาษาสเปนทางช่อง NBCUniversal's Telemundo, Universo, เว็บไซต์ Telemundo Deportes, Telemundo Now, และ Universo Now ตามลำดับ. | [66][67] |
ทั่วโลก
[แก้]ประเทศ | สถานีการออกอากาศ | หมายเหตุ | อ้างอิง |
---|---|---|---|
![]() |
DAZN | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสด | |
![]() |
[68] | ||
![]() |
|||
![]() |
|||
![]() |
[69] | ||
![]() |
|||
![]() |
บีอินสปอตส์ | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสด | [70] |
![]() |
[71] | ||
แม่แบบ:Country data MENA (รวมไปถึงทีมรับเชิญ) | [72] | ||
![]() |
|||
![]() |
DigitAlb | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสดทางช่อง SuperSport | [73] |
![]() | |||
Balkans | Arena Sport | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสด | |
![]() |
Telenet | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสดทางช่อง Play Sports | [74] |
![]() |
CBS | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสดทางช่อง CTN, CNC, และ MyTV | [75] |
![]() |
CCTV | รอบแบ่งกลุ่ม: ทุกนัดทั้งหมดของทีมชาติบราซิล, อาร์เจนตินา และ ญี่ปุ่น รอบแพ้คัดออก: ทุกนัดทั้งหมด ถ่ายทอดสดทาง CCTV.com, CCTV Sports แอปพลิเคชัน และ CCTV-5 |
[76] |
![]() |
O2 | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสดทางช่อง both Football และ Sport channels | [77] |
![]() |
ERT | ทุกนัดที่เลือกไว้ทำการถ่ายทอดสดทางช่อง Sports | [78] |
![]() |
Now TV | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสด | |
![]() |
Sport TV | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสด | [79] |
![]() |
365 | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสดทางช่อง Stöð 2 Sport 1 และ 2 | [80] |
![]() |
Kompas Gramedia | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสดทางช่อง K-Vision, ไฮไลท์การแข่งขันยังมีออกอากาศทางช่อง Kompas TV. | [81] |
MNC Media | ที่เหลืออยู่ 16 จาก 26 นัด (13 นัดถ่ายทอดสดทาง Soccer และ 3 นัดรอบแบ่งกลุ่มนั้นจัดขี้นในวันเดียวกันและเวลาการถ่ายทอดสดทางช่อง Sports channels) จำหน่ายเท่านั้นผ่าน MNC Vision, ไฮไลท์การแข่งขันยังมีออกอากาศทางช่อง RCTI, MNCTV, GTV, iNews, and MNC News. | [82][83] | |
![]() |
IRIB | ทุกนัดที่เลือกไว้ทำการถ่ายทอดสดทางช่อง TV3 และ Varzesh | |
![]() |
Eir Sport | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสดทางช่อง 1 และ 2 | |
FreeSports | Highlights and encore only | ||
![]() | |||
Premier Sports | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสด | [84] | |
![]() |
Charlton | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสดทางช่อง Sport 1 และ Sport 2 | |
![]() |
Setanta Sports | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสด | [85] |
![]() |
RTM | 20 จาก 26 นัด (17 ถ่ายทอดสด และ 3 ดีเลย์) ทางช่อง TV1, TV2, และ Sport channel | [86] |
![]() |
Fox Sports | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสดทางสามช่อง ช่องต่างประเทศ | [87] |
นอร์ดิกส์ | NENT | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสดทางช่อง Viasport และ Viaplay | [88] |
![]() |
Polsat | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสดทางช่อง Sport และ Extra | [89] |
![]() |
Sport TV | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสด | [90] |
![]() |
Eurosport | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสด | [91] |
![]() |
Match TV | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสด | |
![]() |
Al Kass | แต่ละนัดที่เลือกไว้ (รวมไปถึงทุกนัดทั้งหมดที่ทีมชาติกาตาร์ลงสนาม) ถ่ายทอดสดทางช่อง Extra One และ Two | [92] |
![]() |
StarHub | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสดทางช่อง Hub Sports | [93] |
![]() |
Orange | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสด | [94] |
![]() |
JTBC3 Fox Sports | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสด | [95] |
CRTVG | 10 จาก 26 นัดถ่ายทอดสดในกาลิเซียนทางช่อง tvG2 | [96] | |
Sub-Saharan Africa | StarTimes | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสด | [97] |
![]() |
ELTA | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสด | |
![]() |
Televizioni Tojikiston | ทุกนัดที่เลือกไว้ทำการถ่ายทอดสดทางช่อง Varzish และ Futbol | |
![]() |
พีพีทีวี | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสด | [98] |
![]() |
TRT | ทุกนัดที่เลือกไว้ทำการถ่ายทอดสดทางช่อง Sport channel | [99] |
![]() |
NTRCU | ทุกนัดที่เลือกไว้ทำการถ่ายทอดสดทางช่อง Sport channel | [100] |
![]() |
FPT Group | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสด | [101] |
K+ |
ดูเพิ่ม
[แก้]หมายเหตุ
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ "USA, Mexico and two Euro giants could play in 2019 Copa America in Brazil". CBS Sports (ภาษาอังกฤษ). 10 May 2017.
- ↑ "FIFA Council makes key decisions for the future of football development". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 26 October 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-11-15. สืบค้นเมื่อ 26 October 2018.
- ↑ "La Copa América da otro paso hacia Chile" [The Copa América takes another step towards Chile]. La Nación (ภาษาสเปน). 8 August 2009. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-03-09. สืบค้นเมื่อ 2019-01-25.
- ↑ Oficial: la Copa América 2015 en Chile เก็บถาวร 13 พฤษภาคม 2012 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ↑ "Sem europeus, Brasil busca alternativas para ter 16 times na Copa América de 2019" [Without european teams, Brazil is looking for alternatives to having 16 teams in 2019 Copa América] (ภาษาโปรตุเกส). Globo Esporte. 16 March 2018.
- ↑ "Surprise Nation to Be Included in Copa America 2019 to Be Held in Brazil". Sports Illustrated. 5 April 2018. สืบค้นเมื่อ 5 April 2018.
- ↑ Jaafar, Karim (12 April 2018). "Qatar say yes to playing in 2019 Copa America". AFP.com. Agence France-Presse. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-04-14. สืบค้นเมื่อ 12 April 2018.
- ↑ "Copa América BRASIL 2019 se disputará con 12 selecciones". Conmebol (ภาษาสเปน). 4 May 2018. สืบค้นเมื่อ 4 May 2018.
- ↑ "Morumbi fará abertura da Copa América. Allianz recebe os outros jogos em SP" (ภาษาโปรตุเกสแบบบราซิล). สืบค้นเมื่อ 2018-09-18.
- ↑ "Comité Organizador Local confirma estadios de apertura, final y semifinales de la CONMEBOL Copa América Brasil 2019". CONMEBOL.com. 18 September 2018.
- ↑ "Arena Corinthians entra na vaga do Allianz Parque para a Copa América" (ภาษาโปรตุเกสแบบบราซิล). สืบค้นเมื่อ 2018-11-23.
- ↑ "El 24 de enero en Río de Janeiro se celebrará el sorteo de la Copa América Brasil 2019 | CONMEBOL". www.conmebol.com (ภาษาสเปน). 19 October 2018. สืบค้นเมื่อ 19 October 2018.
- ↑ "Comienza a vibrar el continente: Definidos los grupos de la CONMEBOL Copa América Brasil 2019". CONMEBOL.com. 24 January 2019.
- ↑ 14.0 14.1 "CONMEBOL y Comité Organizador Local definen calendario de la CONMEBOL Copa América Brasil 2019" [CONMEBOL and Local Organizing Committee define the calendar of the CONMEBOL Copa América Brazil 2019] (ภาษาสเปน). CONMEBOL.com. 18 December 2018. สืบค้นเมื่อ 18 December 2018.
- ↑ "FIFA/Coca-Cola World Ranking: Men's Ranking (20 December 2018)". FIFA. 20 December 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-04-05. สืบค้นเมื่อ 19 April 2019.
- ↑ "Mecánica del sorteo de grupos de la CONMEBOL Copa América - Brasil 2019" (ภาษาสเปน). CONMEBOL.com. 18 January 2018.
- ↑ "Árbitros convocados para la CONMEBOL Copa América - Brasil 2019". CONMEBOL.com. 21 March 2019.
- ↑ "Nos complace informarles que la Comisión de Árbitros ha designado a los árbitros y árbitros asistentes de sus respectivas asociaciones para participar de la CONMEBOL COPA AMÉRICA BRASIL 2019" (PDF). CONMEBOL.com.
- ↑ 19.0 19.1 "CONMEBOL Copa América Brasil 2019: Reglamento" [CONMEBOL Copa América Brazil 2019: Regulations] (PDF) (ภาษาสเปน). CONMEBOL. 26 April 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2 May 2019. สืบค้นเมื่อ 29 April 2019.
- ↑ "Match Schedule" (PDF). CONMEBOL.com.
- ↑ "Brazil vs. Bolivia". ESPN. 14 June 2019. สืบค้นเมื่อ 15 June 2019.
- ↑ "Venezuela vs. Peru". ESPN. 15 June 2019. สืบค้นเมื่อ 15 June 2019.
- ↑ "Bolivia vs. Peru". ESPN. 18 June 2019. สืบค้นเมื่อ 19 June 2019.
- ↑ "Brazil vs. Venezuela". ESPN. 19 June 2019. สืบค้นเมื่อ 19 June 2019.
- ↑ "Peru vs. Brazil". ESPN. 22 June 2019. สืบค้นเมื่อ 22 June 2019.
- ↑ "Bolivia vs. Venezuela". ESPN. 22 June 2019. สืบค้นเมื่อ 22 June 2019.
- ↑ "Argentina vs. Colombia". ESPN. 15 June 2019. สืบค้นเมื่อ 17 June 2019.
- ↑ "Paraguay vs. Qatar". ESPN. 16 June 2019. สืบค้นเมื่อ 17 June 2019.
- ↑ "Colombia vs. Qatar". ESPN. 19 June 2019. สืบค้นเมื่อ 20 June 2019.
- ↑ "Argentina vs. Paraguay". ESPN. 19 June 2019. สืบค้นเมื่อ 20 June 2019.
- ↑ "Qatar vs. Argentina". ESPN. 23 June 2019. สืบค้นเมื่อ 24 June 2019.
- ↑ "Colombia vs. Paraguay". ESPN. 23 June 2019. สืบค้นเมื่อ 24 June 2019.
- ↑ "Uruguay vs. Ecuador". ESPN. 16 June 2019. สืบค้นเมื่อ 17 June 2019.
- ↑ "Japan vs. Chile". ESPN. 17 June 2019. สืบค้นเมื่อ 18 June 2019.
- ↑ "Uruguay vs. Japan". ESPN. 20 June 2019. สืบค้นเมื่อ 22 June 2019.
- ↑ "Ecuador vs. Chile". ESPN. 21 June 2019. สืบค้นเมื่อ 22 June 2019.
- ↑ "Chile vs. Uruguay". ESPN. 24 June 2019. สืบค้นเมื่อ 25 June 2019.
- ↑ "Ecuador vs. Japan". ESPN. 24 June 2019. สืบค้นเมื่อ 25 June 2019.
- ↑ "Brazil vs. Paraguay". ESPN. 27 June 2019. สืบค้นเมื่อ 28 June 2019.
- ↑ "Venezuela vs. Argentina". ESPN. 28 June 2019. สืบค้นเมื่อ 28 June 2019.
- ↑ "Ônibus do Chile pega trânsito, chega atrasado à Arena e jogo vai começar 20h20" (ภาษาโปรตุเกส). Globoesporte.com. 28 June 2019. สืบค้นเมื่อ 2 July 2019.
- ↑ "Colombia vs. Chile". ESPN. 28 June 2019. สืบค้นเมื่อ 29 June 2019.
- ↑ "Uruguay vs. Peru". ESPN. 29 June 2019. สืบค้นเมื่อ 29 June 2019.
- ↑ "Brazil vs. Argentina". ESPN. 2 July 2019. สืบค้นเมื่อ 3 July 2019.
- ↑ "Chile vs. Peru". ESPN. 3 July 2019. สืบค้นเมื่อ 4 July 2019.
- ↑ "Argentina vs. Chile". ESPN. 6 July 2019. สืบค้นเมื่อ 7 July 2019.
- ↑ "Zizito es escogido como nombre de la mascota de la CONMEBOL Copa América - Brasil 2019". CONMEBOL.com. 12 April 2019.
- ↑ https://www.billboard.com/articles/columns/latin/8515154/leo-santana-karol-g-vibra-continente-copa-america-song
- ↑ "Globo paga por Copa América no Brasil um terço do Paulista: R$ 51 mi - Esporte - UOL Esporte". UOL Esporte (ภาษาโปรตุเกสแบบบราซิล). สืบค้นเมื่อ 2018-12-03.
- ↑ Lucas, Naian (2018-11-23). "Band não vai exibir jogos da Copa América do Brasil 2019". O CANAL (ภาษาโปรตุเกสแบบบราซิล). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-06-26. สืบค้นเมื่อ 2018-12-25.
- ↑ admin. "Copa America 2019 Broadcasting Rights In Brazil" (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-04-02. สืบค้นเมื่อ 2019-04-02.
- ↑ Clarín Group. "La TV Pública transmitirá la Copa América de Brasil 2019". Clarín Group (ภาษาสเปน). สืบค้นเมื่อ 2019-05-22.
- ↑ "Canal 13 y TVN transmitirán la Copa América 2019 en conjunto". adnradio.cl (ภาษาสเปน). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-04-24. สืบค้นเมื่อ 2019-04-23.
- ↑ "La Copa América Brasil-2019 se transmitirá en Ecuador por Teleamazonas". El Universo (ภาษาสเปน). 2019-03-29. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-05-12. สืบค้นเมื่อ 2019-05-12.
- ↑ "Copa América 'Brasil 2019': América TV será el canal oficial en Perú". americadeportes (ภาษาสเปน). สืบค้นเมื่อ 2018-10-25.
- ↑ Cómo se negociaron los derechos de TV de la Copa - Portal 180, 11 June 2019
- ↑ TVES transmitirá en exclusiva los 26 partidos de Copa América Brasil 2019 เก็บถาวร 2019-06-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน - TVES, 13 June 2019
- ↑ "Tous les matchs de la COPA AMERICA en exclusivité sur RDS DIRECT du 14 juin au 7 juillet". RDS. Bell Media. 30 May 2019. สืบค้นเมื่อ 15 June 2019.
- ↑ "2019 COPA America Broadcast Schedule". TSN. 7 June 2019. สืบค้นเมื่อ 20 June 2019.
- ↑ "Tous les matchs de la COPA AMERICA en exclusivité sur RDS DIRECT du 14 juin au 7 juillet – Bell Media" (ภาษาฝรั่งเศส). สืบค้นเมื่อ 2019-06-15.
- ↑ "SportsMax TV on Instagram: "Who's ready for the Copa America this summer? Football has no days off! Catch the Copa America on the Home Of Champions June 14 to July 7.…"". Instagram (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2019-05-22.
- ↑ Bertran, Agustin (2019-04-17). "Repretel transmitirá la Copa América en exclusiva en Costa Rica". NexTV News Latin America (ภาษาสเปนแบบยุโรป). สืบค้นเมื่อ 2019-06-13.[ลิงก์เสีย]
- ↑ RPC (2019-04-16), La Copa América la vivís por la RPC, สืบค้นเมื่อ 2019-06-14
- ↑ "TVMAX Panamá". www.facebook.com (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2019-06-15.
- ↑ Harris, Christopher (2019-03-20). "ESPN+ acquires Copa América rights in English and Portuguese for US market". World Soccer Talk (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-03-30. สืบค้นเมื่อ 2019-03-30.
- ↑ "Telemundo Scores 2019 Copa America TV Rights". Multichannel (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2018-10-25.
- ↑ "Telemundo Deportes broadcast Copa America 2019 live in Spanish" (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-01-01. สืบค้นเมื่อ 2018-12-31.
- ↑ "DAZN überträgt Copa America und Gold Cup". Focus.de (ภาษาเยอรมัน). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-06-05. สืบค้นเมื่อ 2019-06-04.
- ↑ "Oficial: DAZN dará la Copa América". as.com (ภาษาสเปน). 2019-06-13. สืบค้นเมื่อ 2019-06-13.
- ↑ "BeIN adds Australia, New Zealand to Copa América coverage". Sportbusiness.com (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2019-05-17.
- ↑ "CAN, Copa, Euro Espoirs : Votre été sera chaud sur beIN SPORTS". beIN SPORTS France (ภาษาฝรั่งเศส). สืบค้นเมื่อ 2019-04-14.
- ↑ "All you need to know about the 2019 Copa America Draw". beIN SPORTS (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2019-04-14.
- ↑ "DigitAlb". ms-my.facebook.com (ภาษามาเลย์). สืบค้นเมื่อ 2019-04-14.
- ↑ "Copa America: vanaf 14 juni live op Play Sports!". Play Sports (ภาษาเฟลมิช). สืบค้นเมื่อ 2019-05-28.
- ↑ "ផ្លូវការ! CBS ទទួលបានសិទ្ធផ្សាយបន្តផ្ទាល់ពានរង្វាន់ Copa America 2019 ពីប្រទេសប្រេស៊ីល". MSR Sport (ภาษาเขมร). สืบค้นเมื่อ 2019-05-17.
- ↑ 央视体育. "2019美洲杯6月15日开幕 央视体育独家全媒体版权邀你来看". weibo.com (ภาษาจีนตัวย่อ). สืบค้นเมื่อ 2019-06-19.
- ↑ "Turnaj Copa América prinesie slovenským divákom Orange Sport, českým O2 TV Sport". SatelitnaTV (ภาษาสโลวัก). สืบค้นเมื่อ 2019-04-28.
- ↑ Απρ. 2019 20:48, Επιμέλεια: Νίκος Συριώδης Δημοσίευση: 12. "Το Copa America στην ΕΡΤ". www.sport24.gr (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2019-04-14.
- ↑ "A Copa América és az Afrikai Nemzetek Kupája is a Sport TV-re költözik". www.sport1tv.hu (ภาษาฮังการี). สืบค้นเมื่อ 2019-06-01.
- ↑ Copa America (ภาษาอังกฤษ), สืบค้นเมื่อ 2019-06-15
- ↑ "Official Account K-Vision TV on Instagram: "KABAR GEMBIRA UNTUK SELURUH PELANGGAN K-VISION!! 🎉 . COPA AMERICA 2019 SEGERA TAYANG EKSKLUSIF DI K-VISION! . Aktifkan Paket Juara (J01)…"". Instagram (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2019-06-14.
- ↑ "Soccer Channel 101 on Instagram: "Mau tahu bagaimana keseruan para tim favorit kalian yang akan berlaga di lapangan hijau, diajang bergengsi ini? . Saksikan Turnamen Sepak…"". Instagram (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2019-06-20.
- ↑ "MNCVisionID on Instagram: "Saksikan pertandingan spektakuler Conmebol Copa America Brazil 2019. MNC Vision siap memanjakan pecinta bola tanah air dan ikut menjadi…"". Instagram (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2019-06-21.
- ↑ "Premier Sports secures Copa América rights in the UK this summer". Premier Sports (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-05-12. สืบค้นเมื่อ 2019-05-28.
- ↑ "Setanta Qazaqstan футбол жанкүйерлерін қуантуға асығады! Телеарна 14 маусым мен 7 шілде аралығында Бразилияда өтетін Copa America 2019 турнирінің матчтарын көрсету құқығын иеленді". Setanta Qazaqstan (ภาษาคาซัค). สืบค้นเมื่อ 2019-06-13.
- ↑ Ismail, Sulaiman (2019-04-03). "RTM Berjaya Dapat Hak Penyiaran Copa America 2019". Semuanya BOLA (ภาษามาเลย์). สืบค้นเมื่อ 2019-04-14.
- ↑ "Copa America in juni live op FOX Sports". Fox Sports NL (ภาษาดัตช์). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-05-28. สืบค้นเมื่อ 2019-05-28.
- ↑ "NENT snap up Nordic Bundesliga rights in big soccer land grab - SportsPro Media". www.sportspromedia.com. สืบค้นเมื่อ 2019-04-14.
- ↑ "Copa America 2019 w Polsacie Sport!". Polsat Sport (ภาษาโปแลนด์). สืบค้นเมื่อ 2019-06-09.
- ↑ "Portugals Sport TV channel has officially won the Copa America 2019 Brazil Spotlight" (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2019-04-28.
- ↑ "Eurosport Romania scores exclusive rights to 2019 Copa America" (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-04-10. สืบค้นเมื่อ 2019-04-10.
- ↑ الكاس, قنوات (2019-06-14). "تعرف على ترددات قنوات الكاس خلال بطولة #كوبا_أمريكا 2019 " الكاس extra one والكاس extra two "pic.twitter.com/6aqLTbhCjG". Al Kass (ภาษาอาหรับ). สืบค้นเมื่อ 2019-06-16.
- ↑ Copa America and Concacaf Gold Cup comes to Hub Sports! (ภาษาอังกฤษ), สืบค้นเมื่อ 2019-06-13
- ↑ "Turnaj Copa América prinesie slovenským divákom Orange Sport, českým O2 TV Sport". SatelitnaTV (ภาษาสโลวัก). สืบค้นเมื่อ 2019-04-28.
- ↑ "JTBC3 폭스스포츠, 코파아메리카 2019 생중계". JTBC3 Fox Sports (ภาษาเกาหลี). สืบค้นเมื่อ 2019-06-05.[ลิงก์เสีย]
- ↑ "A Galega, única canle en España que ofrece os partidos da Copa América 2019 en aberto | CRTVG". CRTVG (ภาษากาลิเซีย). สืบค้นเมื่อ 2019-06-16.
- ↑ "StarTimes picks up Copa América rights in sub-Saharan Africa". SportBusiness (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2019-06-06.
- ↑ "PPTV HD 36". www.facebook.com (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2019-06-15.
- ↑ "Copa America maçları TRT Spor'dan canlı yayınlanacak". Sabah (ภาษาตุรกี). สืบค้นเมื่อ 2019-05-22.
- ↑ "Sport-TV telekanali Amerika Kubogi—2019 musobaqasi translyatsiya huquqini qo'lga kiritdi". Daryo (ภาษาอุซเบก). สืบค้นเมื่อ 2019-04-14.
- ↑ "FPT Play sở hữu bản quyền của Copa America 2019". laodong.vn (ภาษาเวียดนาม). สืบค้นเมื่อ 2019-06-01.