ข้ามไปเนื้อหา

ทางรถไฟสายใต้

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก รถไฟสายใต้)
ทางรถไฟสายใต้
ทางรถไฟสายใต้
สถานีรถไฟหัวหินก่อนมีการก่อสร้างรถไฟทางคู่
ข้อมูลทั่วไป
สถานะเปิดให้บริการ /
โครงการส่วนต่อขยาย
เจ้าของการรถไฟแห่งประเทศไทย
ปลายทาง
จำนวนสถานีรายชื่อสถานีรถไฟ สายใต้
การดำเนินงาน
รูปแบบรถไฟระหว่างเมือง
ระบบรถไฟทางไกล
ของการรถไฟแห่งประเทศไทย
ผู้ดำเนินงานการรถไฟแห่งประเทศไทย
และบริษัทเอกชนในส่วน
ของสถานีขนถ่ายสินค้า
ศูนย์ซ่อมบำรุงโรงรถจักรดีเซลธนบุรี
โรงรถจักรดีเซลบางซื่อ
โรงรถจักรดีเซลชุมพร
โรงรถจักรดีเซลทุ่งสง
โรงรถจักรหาดใหญ่
ผู้โดยสาร1,995,028 คน (2565)[1]
ข้อมูลทางเทคนิค
ระยะทาง1,144.29 กม. (711.03 ไมล์)
รางกว้างราง 1 เมตร ทางเดี่ยว
(ระหว่างโครงการก่อสร้างทางคู่)
ความเร็วสูงสุด 120 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
แผนที่เส้นทาง

กรุงเทพ (หัวลำโพง)
กรุงเทพ – ตลิ่งชัน
สายตะวันออก  ชุมทางฉะเชิงเทรา 
ยมราช
จิตรลดา
โรงพยาบาลรามาธิบดี
สามเสน
ประดิพัทธิ์
กรุงเทพอภิวัฒน์
ชุมทางบางซื่อ
สายเหนือและอีสาน  ชุมทางบ้านภาชี 
บางซ่อน
สะพานพระราม 6 (แม่น้ำเจ้าพระยา)
บางบำหรุ(บำ.)
0.00
ธนบุรี (เดิม)
0.87
ธนบุรี (บางกอกน้อย)
1.54
จรัญสนิทวงศ์(รว.)
4.29
บางระมาด(รม.)
6.08
ชุมทางตลิ่งชัน(ตช.)
8.64
บ้านฉิมพลี(ฉพ.)
11.47
พุทธมณฑล สาย 2
14.05
ศาลาธรรมสพน์
19.06
ศาลายา(ลย.)
23.46
วัดสุวรรณ(สุ.)
27.05
คลองมหาสวัสดิ์(มว.)
30.80
วัดงิ้วราย(งร.)
35.13
นครชัยศรี(รช.)
40.02
ท่าแฉลบ(ฉล.)
44.70
ต้นสำโรง(โร.)
48.12
นครปฐม(คฐ.)
50.13
พระราชวังสนามจันทร์(สจ.)
55.36
โพรงมะเดื่อ(พด.)
58.97
คลองบางตาล(บา.)
64.19
ชุมทางหนองปลาดุก(ปด.)
ไป สุพรรณบุรี
87.86
ทุ่งบัว
96.46
โรงเรียนการบิน
113.30
ศรีสำราญ
122.31
ดอนทอง
141.60
สุพรรณบุรี
มาลัยแมน
ไป น้ำตก
67.90
ถนนทรงพล
73.65
สระโกสินารายณ์
77.43
ลูกแก
89.77
ท่าเรือน้อย
96.68
บ้านหนองเสือ
102.71
ทุ่งทอง
114.36
ปากแพรก
117.04
กาญจนบุรี
120.26
สะพานแควใหญ่
124.55
เขาปูน
132.70
วังลาน
136.46
นากาญจน์
140.15
วังเย็น
144.80
วังตะเคียน
148.17
บ้านโป่งเสี้ยว
151.95
บ้านเก่า
156.80
ท่าตาเสือ
161.95
ท่ากิเลน
167.03
วังสิงห์
172.35
ลุ่มสุ่ม
173.87
สะพานถ้ำกระแซ
178.10
วังโพ
183.66
เกาะมหามงคล
185.35
ช่องแคบ
188.90
วังใหญ่
191.25
บ้านพุพง
194.24
น้ำตก
68.22
บ้านโป่ง(โป.)
73.69
นครชุมน์(นช.)
77.29
คลองตาคด(ตค.)
81.80
โพธาราม(พร.)
88.87
เจ็ดเสมียน(จม.)
94.64
บ้านกล้วย(าก.)
100.29
สะพานจุฬาลงกรณ์(จา.)
101.31
ราชบุรี(รร.)
105.46
บ้านคูบัว(บบ.)
111.20
บ่อตะคร้อ(บร.)
114.50
บ้านป่าไก่(ไป.)
118.62
ปากท่อ(ปท.)
122.77
ห้วยโรง(โง.)
127.18
บางเค็ม(งเ.)
133.77
เขาย้อย(เข.)
139.44
หนองปลาไหล(ปล.)
143.90
บางจาก(จก.)
150.49
เพชรบุรี(พบ.)
160.32
เขาทโมน(โม.)
164.21
หนองไม้เหลือง(นม.)
169.90
หนองจอก(หจ.)
175.40
หนองศาลา(งา.)
187.06
ชะอำ(ชอ.)
197.86
ห้วยทรายเหนือ(ซน.)
201.64
ห้วยทรายใต้(ซใ.)
212.99
หัวหิน(หห.)
216.96
หนองแก(นอ.)
221.03
สวนสนประดิพัทธ์(สป.**)
225.04
เขาเต่า(ขต.)
232.85
วังก์พง(วพ.)
235.85
ปราณบุรี(ปน.)
241.83
ห้วยขวาง(ขว.)
246.94
หนองคาง(อค.)
254.99
สามร้อยยอด(สย.)
261.15
สามกระทาย(สท.)
271.33
กุยบุรี(กย.)
278.85
บ่อนอก(บน.)
288.88
ทุ่งมะเม่า(มเ.)
294.76
คันกระได(กด.)
302.33
ประจวบคีรีขันธ์(จข.)
310.37
หนองหิน(นห.)
313.42
หว้ากอ(ห้.*)
318.22
วังด้วน(วด.)
329.07
ห้วยยาง(หย.)
338.60
ทุ่งประดู่(ทด.)
342.06
ทับสะแก(สก.)
347.00
ดอนทราย(ดซ.)
353.04
โคกตาหอม(โห.*)
360.53
บ้านกรูด(กร.)
365.85
หนองมงคล(หน.)
371.04
นาผักขวง(ผข.)
376.52
บางสะพานใหญ่(พญ.)
383.58
หินกอง(หถ.*)
385.92
ชะม่วง(ชว.)
392.66
บางสะพานน้อย(พน.)
399.92
ห้วยสัก(ยส.)
404.30
บ้านทรายทอง(ซท.)
409.65
เขาไชยราช(ขช.)
420.59
มาบอำมฤต(มร.)
427.66
บ้านทรัพย์สมบูรณ์(ซส.)
434.29
คลองวังช้าง(คช.)
439.34
ปะทิว(ะท.)
447.46
บ้านคอกม้า(คา.)
453.80
สะพลี(ส ี.)
458.38
หนองเนียน(งน.*)
463.20
นาชะอัง(ชง.)
468.53
ชุมพร(ชพ.)
472.54
แสงแดด(สด.)
480.91
ทุ่งคา(ทค.)
489.97
วิสัย
495.75
บ้านครน
500.76
สวี(ะว.)
508.51
เขาสวนทุเรียน
512.02
เขาปีบ
516.81
ปากตะโก(ตก.)
522.35
ท่าทอง
526.08
ควนหินมุ้ย
533.30
หลังสวน(งส.)
541.03
คลองขนาน
546.53
หัวมาด
553.70
ละแม(แม.)
560.14
บ้านดวด
566.37
คันธุลี
570.05
ดอนธูป
577.78
ท่าชนะ(นะ.)
584.06
บ้านเกาะมุกข์
588.40
เขาพนมแบก
597.71
ไชยา(ชย.)
610.53
ท่าฉาง
614.00
คลองขุด
618.87
คลองไทร
623.92
มะลวน
631.00
ชุมทางบ้านทุ่งโพธิ์
ไป คีรีรัฐนิคม
634.35
บ้านดอนรัก
640.75
บ้านทุ่งหลวง
644.55
บ้านขนาย
649.35
บ้านดอนเรียบ
652.60
คลองยัน
655.58
เขาหลุง
658.00
บ้านยาง
662.00
คีรีรัฐนิคม
635.02
สุราษฎร์ธานี(รท.)
641.51
เขาหัวควาย(ขค.)
647.23
บ่อกรัง(กง.)
652.46
เขาพลู(ขพ.)
657.76
คลองยา(ยา.)
662.34
บ้านนา(นน.)
669.68
ห้วยมุด(มด.)
673.70
นาสาร(นส.)
679.90
คลองปราบ(ปบ.)
684.03
พรุพี(พพ.)
687.72
คลองสูญ
692.73
บ้านส้อง(สอ.)
699.78
บ้านพรุกระแชง(แช.)
704.61
ห้วยปริก(หป.)
709.87
กระเบียด(เบ.)
716.66
ทานพอ(ทา.)
722.41
ฉวาง(ฉว.)
727.95
คลองจันดี(จด.)
734.71
หลักช้าง(หช.)
738.98
คลองกุย(อก.)
743.01
นาบอน(าอ.)
747.03
คลองจัง(คจ.)
751.03
บ้านเกาะปริง(ะป.)
757.08
ชุมทางทุ่งสง(ทส.)
ไป กันตัง
765.57
ที่วัง
776.33
กะปาง
800.82
ห้วยยอด
829.28
ตรัง(ตร.)
850.08
กันตัง(กต.)
762.00
ใสใหญ่(สใ.)
767.78
ช่องเขา(ชข.)
769.82
อุโมงค์ช่องเขา
776.33
ร่อนพิบูลย์(รบ.)
781.01
ชุมทางเขาชุมทอง(ชท.)
ไป นครศรีธรรมราช
786.15
บ้านเกยเชน
790.59
บ้านทุ่งหล่อ
794.67
โคกคราม
798.72
บ้านห้วยยูง
803.40
บ้านท่าช้าง
806.35
วังวัว
810.88
มะม่วงสองต้น
816.02
นครศรีธรรมราช(ธำ.)
789.38
ควนหนองคว้า(คว.)
794.94
บ้านตูล(ตน.)
802.85
บ้านทุ่งค่าย(น่.)
806.06
ชะอวด(ชด.)
810.69
หนองจิก(อจ.)
813.47
บ้านนางหลง(นล.)
816.35
บ้านตรอกแค(คั.)
818.95
บ้านขอนหาด(ขห.)
824.06
แหลมโตนด(โน.)
828.03
บ้านสุนทรา(บท.)
833.11
ปากคลอง(ปค.)
837.05
บ้านมะกอกใต้(บใ.)
839.97
ชัยบุรี(ไช.)
846.01
พัทลุง(พท.)
849.07
นาปรือ(ปร.)
853.19
บ้านค่ายไทย(ทย.)
856.28
บ้านต้นโดน(บโ.)
859.25
บ้านห้วยแตน(ยแ.)
865.01
เขาชัยสน(เช.)
870.17
บางแก้ว(แก.)
876.50
ควนพระ(คะ.)
881.15
ควนเคี่ยม(คเ.)
885.35
หารกง(ฮก.)
888.68
หารเทา(หท.)
893.49
วัดควนเผยอ(วผ.)
896.24
โคกทราย(โท.)
902.97
ควนเนียง(เน.)
909.50
บ้านเกาะใหญ่(กใ.)
917.02
บางกล่ำ(บล.)
921.84
บ้านดินลาน(ดล.)
สายสงขลา
925.80
อู่ตะเภา -2529
928.58
ชุมทางหาดใหญ่(หใ.)
952.64
คลองแงะ(คง.)
972.90
ปาดังเบซาร์ (ไทย)
973.54
ชายแดนไทย-มาเลเซีย
973.84
ปาดังเบซาร์(ปซ.) มาเลเซีย
รถไฟมาเลเซีย  บัตเตอร์เวิร์ธ 
940.26
นาม่วง(มง.)
953.75
วัดควนมีด(วม.)
964.50
จะนะ(จน.)
972.10
ท่าแมงลัก(งก.)
980.79
เกาะสะบ้า(กส.)
991.99
เทพา(เท.)
999.91
ตาแปด(ตป.)
1003.27
บ้านนิคม(นิ.)
1009.21
ปัตตานี(นี.) (โคกโพธิ์)
1016.73
นาประดู่(าด.)
1020.09
วัดช้างให้(ชห.)
1021.29
ป่าไร่(ปไ.)
1026.07
คลองทราย(คซ.)
1031.59
ตาเซะ(ตช.)
1038.74
ยะลา(ยล.)
1048.80
ไม้แก่น(ไม)
1051.95
บ้านปาแต(ตแ.)
1056.82
รามัน(รั.)
1061.70
บาลอ(าล.)
1071.19
รือเสาะ(สะ.)
1075.98
บ้านสะโลว์บูกิ๊ตยือแร(ยื.)
1081.77
ลาโละ(ลล.)
1089.46
มะรือโบ(โบ.)
1093.96
กระแด๊ะ(กแ.)
1099.50
ตันหยงมัส(ยม.)
1105.44
ป่าไผ่(ปผ.)
1111.15
เจาะไอร้อง(จอ.)
1115.83
บูกิต(บู.)
1119.62
ไอสะเตีย(ไอ.)
1125.65
โต๊ะเด็ง(ตด.)
1130.10
สุไหงปาดี(งด.)
1137.14
โคกสยา(โย.)
1142.99
สุไหงโก-ลก(โล.)

ทางรถไฟสายใต้ เป็นทางรถไฟที่เริ่มต้นจากสถานีรถไฟธนบุรี กรุงเทพมหานคร ผ่านจังหวัดนครปฐม, ราชบุรี, เพชรบุรี, ประจวบคีรีขันธ์, ชุมพร, สุราษฎร์ธานี, นครศรีธรรมราช, พัทลุง, สงขลา, ปัตตานี, ยะลา และไปสุดปลายทางที่สถานีรถไฟสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส และไปบรรจบกับทางรถไฟของประเทศมาเลเซีย ที่สถานีรถไฟรันเตาปันจัง

ทางรถไฟสายใต้สร้างขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจากสถานีรถไฟธนบุรีถึงสถานีรถไฟเพชรบุรี ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ขยายเส้นทางไปภาคใต้และสร้างทางแยกที่สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาที่สะพานพระรามหกไปบรรจบกันที่สถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน เพื่อเชื่อมทางรถไฟสายใต้กับทางรถไฟสายเหนือ ทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ และสถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง)

ความยาวของทางรถไฟสายใต้ นับจากสถานีรถไฟธนบุรี ถึง ชายแดนไทย-มาเลเซีย ที่อำเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส รวมทั้งสิ้น 1,144.29 กิโลเมตร เป็นทางรถไฟสายที่ยาวที่สุดในประเทศไทย

จังหวัดและอำเภอที่ผ่าน

[แก้]
เขต / อำเภอ จังหวัด
ปทุมวัน / ดุสิต / ราชเทวี / พญาไท / บางซื่อ / บางพลัด / บางกอกน้อย / ตลิ่งชัน / ทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร
บางกรวย นนทบุรี
พุทธมณฑล / นครชัยศรี / เมืองนครปฐม / กำแพงแสน นครปฐม
สองพี่น้อง / บางปลาม้า / เมืองสุพรรณบุรี สุพรรณบุรี
ท่ามะกา / ท่าม่วง / เมืองกาญจนบุรี / ไทรโยค กาญจนบุรี
บ้านโป่ง / โพธาราม / เมืองราชบุรี / ปากท่อ ราชบุรี
อัมพวา สมุทรสงคราม
เขาย้อย / เมืองเพชรบุรี / บ้านลาด / ท่ายาง / ชะอำ เพชรบุรี
หัวหิน / ปราณบุรี / สามร้อยยอด / กุยบุรี / เมืองประจวบคีรีขันธ์ / ทับสะแก / บางสะพาน / บางสะพานน้อย ประจวบคีรีขันธ์
ปะทิว / เมืองชุมพร / สวี / ทุ่งตะโก / หลังสวน / ละแม ชุมพร
ท่าชนะ / ไชยา / ท่าฉาง / พุนพิน / คีรีรัฐนิคม / บ้านนาเดิม / บ้านนาสาร / เวียงสระ สุราษฎร์ธานี
ฉวาง / ช้างกลาง / นาบอน / ทุ่งสง / ร่อนพิบูลย์ / พระพรหม /เมืองนครศรีธรรมราช / จุฬาภรณ์ / ชะอวด นครศรีธรรมราช
รัษฎา / ห้วยยอด / เมืองตรัง / กันตัง ตรัง
ควนขนุน / เมืองพัทลุง / เขาชัยสน / บางแก้ว / ปากพะยูน พัทลุง
ควนเนียง / บางกล่ำ / หาดใหญ่ / เมืองสงขลา / สะเดา / นาหม่อม / จะนะ / เทพา สงขลา
โคกโพธิ์ / แม่ลาน ปัตตานี
เมืองยะลา / รามัน ยะลา
รือเสาะ / ระแงะ / เจาะไอร้อง / สุไหงปาดี / สุไหงโก-ลก นราธิวาส

รายชื่อชุมทางรถไฟสายใต้

[แก้]
สายธนบุรีแยกออกจากสายหลักที่สถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน (ภาพใน พ.ศ. 2567)
ชื่อชุมทาง แยกไปยัง
ชุมทางตลิ่งชัน ธนบุรี
ชุมทางหนองปลาดุก สุพรรณบุรี , น้ำตก
ชุมทางบ้านทุ่งโพธิ์ คีรีรัฐนิคม
ชุมทางทุ่งสง กันตัง
ชุมทางเขาชุมทอง นครศรีธรรมราช
ชุมทางหาดใหญ่ สงขลา , ปาดังเบซาร์ , สุไหงโก-ลก

แผนในอนาคต

[แก้]

ในอนาคต การรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) ร่วมกับ สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) จะทำการย้ายสถานีต้นทางหลักของกรุงเทพ จากสถานีหัวลำโพง มาที่ ชุมทางบางซื่อ เป็นสถานีหลักแห่งเดียวของกรุงเทพมหานคร พร้อมจัดเส้นทางใหม่ จากบางซื่อไปนครปฐม และราชบุรี เป็นสายตะวันตก จากบางซื่อ ไปหัวลำโพง วงเวียนใหญ่ มหาชัย จนถึงปากท่อ ตลอดจนทุกสถานีหลังจากนี้ นับเป็นสายใต้เส้นทางใหม่ ส่วนจากบางซื่อไปชุมทางบ้านภาชี ยังเป็นสายเหนือและสายตะวันออกเฉียงเหนือเช่นเดิม จากบางซื่อไปสุวรรณภูมิ ฉะเชิงเทรา เป็นสายตะวันออกตามเดิม และแยกเพิ่มอีก 2 เส้นทางคือ รถไฟความเร็วสูง (ไฮสปีดเทรน) เส้นทางกรุงเทพ-ระยอง และรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (SARL : Suvarnabhumi Airport Rails Link)

นอกจากนี้ ยังมีโครงการปรับปรุงทางรถไฟทั้งหมดเป็นทางคู่ ในเส้นทางรถไฟสายใต้ จะแบ่งเป็น 7 ช่วง ประกอบด้วย

สถานีรถไฟบ่อตะคร้อที่ปรับปรุงสร้างใหม่ในโครงการรถไฟทางคู่
  • เปิดใช้งานแล้ว
    • บางซื่อ-นครปฐม (แล้วเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2543)
    • นครปฐม-หัวหิน (แล้วเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2567)[2]
    • หัวหิน-ประจวบคีรีขันธ์ (แล้วเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2566)[2]
    • ประจวบคีรีขันธ์-ชุมพร (แล้วเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2567)[2]
  • โครงการ
    • ชุมพร-สุราษฎร์ธานี (โครงการ)
    • สุราษฎร์ธานี-ชุมทางหาดใหญ่-สงขลา (โครงการ)
    • หาดใหญ่-ปาดังเบซาร์ (เป็นโครงการรถไฟฟ้าเพื่อเชื่อมต่อกับรถไฟด่วนพิเศษของมาเลเซีย)

และจะมีโครงการก่อสร้างทางรถไฟสายใหม่ จำนวน 4 เส้นทางคือ

ซึ่งทั้งหมด อยู่ในระหว่างการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "เปิดแผนที่สถานีรถไฟประเทศไทยสถิติผู้ใช้งาน 2565". สถาบันนวัตกรรมและธรรมาภิบาลข้อมูล. 20 July 2023. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-07-22. สืบค้นเมื่อ 2023-07-22.
  2. 2.0 2.1 2.2 เซ็นแล้วสร้างรถไฟทางคู่ 5 เส้นทาง 6.95 หมื่นล้าน
  3. "รถไฟชุมพร-ระนอง". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-06-20. สืบค้นเมื่อ 2018-02-21.
  4. "โครงการศึกษาและออกแบบทางรถไฟสายใหม่ ช่วงอำเภอดอนสัก - เชื่อมรถไฟสายใต้ จังหวัดสุราษฎร์ธานี". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-02-03. สืบค้นเมื่อ 2018-02-21.
  5. เปิดพิมพ์เขียว 62 จังหวัด ระบบรางเชื่อมลาว-จีน

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]