ตู้โดยสาร
มุมมองและกรณีตัวอย่างในบทความนี้อาจไม่ได้แสดงถึงมุมมองที่เป็นสากลของเรื่อง |
ตู้โดยสาร (อังกฤษ: passenger car, coach หรือ carriage ) หมายถึง ตู้หรือรถโดยสารที่วิ่งบนทางรถไฟ ซึ่งพ่วงต่อกันหลายคันเป็น ขบวนรถไฟ สำหรับการขนส่งผู้โดยสาร ซึ่งมีใช้อยู่หลายชนิด ในยุคแรกๆ ที่รถไฟเริ่มเปิดเดินรถใหม่ๆ ตู้โดยสารจะมีที่นั่งซึ่งหุ้มด้วยเบาะหนัง เก้าอี้หวาย หรือเก้าอี้ไม้สัก ขึ้นอยู่กับประเภทของชั้นที่นั่ง โดยแบ่งออกเป็นสามชั้นคือ ชั้น 1, 2 และ 3 ตามลำดับ ลักษณะที่นั่งเหล่านี้ได้มีการปรับปรุงให้เหมาะสมยิ่งขึ้นตามกาลเวลาในยุคต่อมา นอกจากนั้นยังเพิ่มสิ่งอำนวยความสะดวก อย่างเตียง เครื่องสุขภัณฑ์และเครื่องปรับอากาศ โดยเฉพาะรถนอน ในปัจจุบันมีให้บริการทั้งแบบรถพัดลมและรถปรับอากาศในชั้นที่ 1, 2 และ 3 ซึ่งค่าโดยสารจะแตกต่างกันไปตามประเภทชั้นที่นั่งและความสะดวกสบายที่เพิ่มขึ้น
ประเภทตู้โดยสารรถไฟในประเทศไทย
[แก้]ปัจจุบันการรถไฟแห่งประเทศไทย มีตู้โดยสารซึ่งแบ่งตามระดับชั้นและให้บริการในขบวนรถดังต่อไปนี้
ชนิดรถ | จำนวนที่นั่ง | ภาพ | ตัวย่อ | ขบวนรถที่ให้บริการ | |
---|---|---|---|---|---|
ภายนอก | ภายใน | ||||
ชั้นที่ 1 | |||||
รถนั่งและนอนปรับอากาศ
Air-conditioned Day and night |
บนอ.ป.1001-1022 24 ที่นั่ง (Hyundai) | บนอ.ป.
(ANF.) |
13/14 กรุงเทพอภิวัฒน์-เชียงใหม่
37/38 กรุงเทพอภิวัฒน์-สุไหงโกลก 83/84 กรุงเทพอภิวัฒน์-ตรัง 85/86 กรุงเทพอภิวัฒน์-นครศรีธรรมราช | ||
บนอ.ป.101-102
10 ที่นั่ง (บลูเทรน บนอ.ปJR) |
ปัจจุบันงดให้บริการ | ||||
บนอ.ป.1101-1109 24 ที่นั่ง (CNR) | 9/10 กรุงเทพอภิวัฒน์-เชียงใหม่
23/24 กรุงเทพอภิวัฒน์-อุบลราชธานี 25/26 กรุงเทพอภิวัฒน์-หนองคาย 31/32 กรุงเทพอภิวัฒน์-ชท.หาดใหญ่ | ||||
ชั้นที่ 2 | |||||
รถนั่งและนอน
ปรับอากาศ Air-conditioned Day and night Coach |
บนท.ป.40 ที่นั่ง
(1001-1029)
(1030-1036)
หลังคาเหลี่ยม (1037-1067)
(1068-1084) |
บนท.ป.
(ANS.) |
13/14 กรุงเทพอภิวัฒน์-เชียงใหม่
37/38 กรุงเทพอภิวัฒน์-สุไหงโกลก 45/46 กรุงเทพอภิวัฒน์-ปาดังเบซาร์ (พ่วงรวมกับขบวน37/38 จนถึง/ตั้งแต่สถานี ชท.หาดใหญ่) 51/52 กรุงเทพอภิวัฒน์-เชียงใหม่ 107/108 กรุงเทพอภิวัฒน์-เด่นชัย 109 กรุงเทพอภิวัฒน์-เชียงใหม่ 139/140 กรุงเทพอภิวัฒน์-อุบลราชธานี 167/168 กรุงเทพอภิวัฒน์-ตรัง-กันตัง 169/170 กรุงเทพอภิวัฒน์-ยะลา 171/172 กรุงเทพอภิวัฒน์-สุไหงโกลก | ||
บนท.ป.1301-1379 40 ที่นั่ง (CNR) | 9/10 กรุงเทพอภิวัฒน์-เชียงใหม่
23/24 กรุงเทพอภิวัฒน์-อุบลราชธานี 25/26 กรุงเทพอภิวัฒน์-หนองคาย 31/32 กรุงเทพอภิวัฒน์-ชท.หาดใหญ่ | ||||
บนท.ป.1401-1409 34 ที่นั่งสำหรับผู้พิการ
(CNR) |
9/10 กรุงเทพอภิวัฒน์-เชียงใหม่
23/24 กรุงเทพอภิวัฒน์-อุบลราชธานี 25/26 กรุงเทพอภิวัฒน์-ลำนารายณ์-หนองคาย 31/32 กรุงเทพอภิวัฒน์-ชท.หาดใหญ่ | ||||
บนท.ป.JR-West
หรือ บลูเทรน
บนท.ป.101-122
- บนท.ป.201-206 - บนท.ป.231-242 30/32/34 ที่นั่ง
|
133/134 กรุงเทพอภิวัฒน์-เวียงจันทน์ (คำสะหวาด) (เริ่ม 19 กรกฎาคม 2567)
147/148 อุดรธานี-เวียงจันทน์ (คำสะหวาด) (เริ่ม 20 กรกฎาคม 2567) 5/6 กรุงเทพอภิวัฒน์-เชียงใหม่ (เดินรถเฉพาะช่วงเทศกาลสงกรานต์ และปีใหม่) พ่วงกับขบวนรถนำเที่ยว ขบวนพิเศษรถจักรไอน้ำ ขบวนรถจัดเฉพาะ รถไฟเชิงพานิชย์ขบวนอื่นๆ เป็นบางครั้ง | ||||
แดวู
|
- รุ่นมีห้องขับ 76 ที่นั่ง (2513-2524)
- รุ่นไม่มีห้องขับ 80 ที่นั่ง (2121-2128)
- รุ่นมีห้องขับ 76 ที่นั่ง (2525-2544) |
กซข.ป.
( APD.) ( APN.) |
7/8 กรุงเทพอภิวัฒน์-เชียงใหม่
21/22 กรุงเทพอภิวัฒน์-อุบลราชธานี 39/40 กรุงเทพอภิวัฒน์-สุราษฎร์ธานี 43/44 กรุงเทพอภิวัฒน์-สุราษฎร์ธานี | ||
สปรินเทอร์(ASR)
|
(2113-2120) |
กซข.ป.
( APD.) ( APN.) |
ขบวนรถเร็วที่ 997/998 กรุงเทพ-จุกเสม็ด (เดินรถเฉพาะวันเสาร์-อาทิตย์) | ||
เอทีอาร์
รถกำลังดีเซลรางปรับอากาศไม่มีห้องขับ Air-Conditioned Power Diesel Railcar Non Driving Cab |
กซม.ป.62 ที่นั่ง [1](2101-2112) | กซม.ป.
( APN.) |
71/72 กรุงเทพอภิวัฒน์-อุบลราชธานี
75/76 กรุงเทพอภิวัฒน์-หนองคาย 389/390 กรุงเทพ-ชท.ฉะเชิงเทรา (บางวัน) สายวงเวียนใหญ่-มหาชัย บางขบวน (กซม.ป.2101) | ||
รถนั่งปรับอากาศชั้น 2
Air-Conditioned Second Class Carriage |
บชท.ป.101-108 64/72 ที่นั่ง | บชท.ป.JR
(ASC.) |
133/134 กรุงเทพอภิวัฒน์-เวียงจันทน์ (คำสะหวาด) (เริ่ม 19 กรกฎาคม 2567)
147/148 อุดรธานี-เวียงจันทน์ (คำสะหวาด) (เริ่ม 20 กรกฎาคม 2567) 5/6 กรุงเทพอภิวัฒน์-เชียงใหม่ (เดินรถเฉพาะช่วงเทศกาลสงกรานต์ และปีใหม่) พ่วงกับขบวนรถนำเที่ยว ขบวนพิเศษรถจักรไอน้ำ ขบวนรถจัดเฉพาะ รถไฟเชิงพานิชย์ขบวนอื่นๆ เป็นบางครั้ง | ||
บชท.ป.201-210
30 ที่นั่ง (สำหรับผู้พิการ)[3] |
บชท.ป.
(ASC.) |
83/84 กรุงเทพอภิวัฒน์-ตรัง | |||
รถโบกี้ชั้นที่ 2
Bogie Second Class Carriage |
• บชท.61-108
(48 ที่นั่ง) • บชท.1001-1002 (52 ที่นั่ง) |
บชท.
(BSC.) |
37/38 กรุงเทพอภิวัฒน์-สุไหงโกลก
51/52 กรุงเทพอภิวัฒน์-เชียงใหม่ 83/84 กรุงเทพอภิวัฒน์-ตรัง 85/86 นครศรีธรรมราช 109/102 กรุงเทพอภิวัฒน์-เชียงใหม่ 135/136 กรุงเทพอภิวัฒน์-อุบลราชธานี 167/168 กรุงเทพอภิวัฒน์-ตรัง-กันตัง 169/170 กรุงเทพอภิวัฒน์-ยะลา 171/172 กรุงเทพอภิวัฒน์-สุไหงโกลก | ||
ชั้นที่ 3 | |||||
รถกำลังดีเซลรางมีห้องขับ
Bogie Power Diesel Railcar With Driving Cab |
กซข.74 ที่นั่ง
• ทีเอชเอ็น (THN) 1101-1140 • เอ็นเคเอฟ (NKF) 1201-1264 |
กซข.
( BPD.) |
71/72 กรุงเทพอภิวัฒน์-อุบลราชธานี
75/76 กรุงเทพอภิวัฒน์-หนองคาย 209/210 กรุงเทพ-บ้านตาคลี 261/262 กรุงเทพ-หัวหิน-สวนสนประดิพัทธิ์ (เฉพาะจันทร์-ศุกร์) 279/280 กรุงเทพ-กบินทร์บุรี 281/282 กรุงเทพ-กบินทร์บุรี 303/304 กรุงเทพ-ลพบุรี 317/318 กรุงเทพ-ลพบุรี 339/340 กรุงเทพ-ชท.แก่งคอย 355/356 กรุงเทพ-สุพรรณบุรี 389/390 กรุงเทพ-ชท.ฉะเชิงเทรา 909/910 กรุงเทพ-น้ำตกไทรโยคน้อย (รถนำเที่ยว) 911/912 กรุงเทพ-สวนสนประดิพัทธิ์ (รถนำเที่ยว) รถท้องถิ่นสายเหนือทุกขบวน รถชานเมือง สายแม่กลองทุกขบวน (เฉพาะ NKF) รถฟีดเดอร์ ธนบุรี-นครปฐม | ||
|
อาร์เอช
อาร์เอชเอ็น |
กซข.
( BPD.) ( BTD.) |
รถท้องถิ่น สายตะวันออกเฉียงเหนือทุกขบวน | ||
รถนั่งปรับอากาศชั้น 3
Air-Conditioned Carriage |
• บชส.ป.1 (72 ที่นั่ง)
• บชส.ป.2-4, 10 (80 ที่นั่ง) |
บชส.ป.
(ATC.) |
371/372 กรุงเทพ-ปราจีนบุรี | ||
รถโบกี้ชั้นที่ 3
Bogie Third Class Carriage |
• บชส.1xx-3xx (72 ที่นั่ง)
• บชส.1001-1155 (96 ที่นั่ง) • บชส.1156-1373 (76 ที่นั่ง) |
บชส.
(BTC.) |
13/14 กรุงเทพอภิวัฒน์-เชียงใหม่
37/38 กรุงเทพอภิวัฒน์-สุไหงโกลก 51/52 กรุงเทพอภิวัฒน์-เชียงใหม่ 83/84 กรุงเทพอภิวัฒน์-ตรัง 85/86 กรุงเทพอภิวัฒน์-นครศรีธรรมราช รถเร็ว รถธรรมดาทุกขบวน รถท้องถิ่นสายใต้ทุกขบวน รถชานเมืองบางขบวน ขบวนรถนำเที่ยวเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ขบวนพิเศษรถจักรไอน้ำ | ||
บชส.ควีนส์แลนด์ (76 ที่นั่ง) | 261/262 กรุงเทพ-หัวหิน-สวนสนประดิพัทธิ์
(เฉพาะวันเสาร์-อาทิตย์) 301/302 กรุงเทพ-ลพบุรี 313/314 กรุงเทพ-อยุธยา-ชท.บ้านภาชี (บริการเฉพาะจันทร์-ศุกร์) 367/368 กรุงเทพ-ชท.ฉะเชิงเทรา 371/372 กรุงเทพ-ปราจีนบุรี | ||||
ชั้นพิเศษ (เป็นรถบริการที่นอกเหนือจากชั้นที่กล่าวมาข้างต้น) | |||||
รถเสบียงปรับอากาศ
Air - conditioned Restaurant Car |
ไม่มี การกำหนด จำนวนที่นั่ง |
บกข.ป. | ขบวนรถนำเที่ยวเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ | ||
บกข.ป.
(CNR) |
9/10 กรุงเทพอภิวัฒน์-เชียงใหม่
23/24 กรุงเทพอภิวัฒน์-อุบลราชธานี 25/26 กรุงเทพอภิวัฒน์-หนองคาย 31/32 กรุงเทพอภิวัฒน์-ชท.หาดใหญ่ | ||||
|
บพห.
(BFV.) (BSV.) (BTV.) |
รถด่วน รถเร็ว ทุกขบวน ยกเว้น ขบวนที่ใช้รถดีเซลราง และขบวนรถธรรมดาบางขบวน | |||
รถโบกี้ปรับอากาศจัดเฉพาะ
Air-Conditioned Reserved Saloon |
31[2] | บจพ.ป.
(ARS.) |
ขบวนพิเศษรถจักรไอน้ำ
ขบวนรถนำเที่ยวเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ (บจพ.ป.131 และ บจพ.ป.111) | ||
รถประชุมปรับอากาศ | 6[2] | บปช.ป. | เฉพาะกรณีพิเศษ | ||
รถรถโบกี้ตรวจสภาพทางปรับอากาศ
Air - conditioned Inspcetion Car |
16[2] | บตท.ป.
(AIC.) | |||
รถโบกี้วิทยุสื่อสาร Bogie Radio Communication Van | ไม่มี การกำหนด จำนวนที่นั่ง |
บวส.
(BCV.) | |||
รถโบกี้บรรทุกล้อเลื่อน
Bogie Carriage Truck |
บรล.
(BCT.) | ||||
รถโบกี้ไฟฟ้ากำลัง | บฟก. | เฉพาะกรณีพิเศษ มักพ่วงไปกับขบวนรถไฟพระที่นั่ง | |||
รถโบกี้ไฟฟ้ากำลังปรับอากาศ | บฟก.ป | 9/10 กรุงเทพอภิวัฒน์-เชียงใหม่ (CNR)
23/24 กรุงเทพอภิวัฒน์-อุบลราชธานี (CNR) 25/26 กรุงเทพอภิวัฒน์-หนองคาย (CNR) 31/32 กรุงเทพอภิวัฒน์-ชท.หาดใหญ่ (CNR) 5/6 กรุงเทพอภิวัฒน์-เชียงใหม่ (เดินรถเฉพาะช่วงเทศกาลสงกรานต์ และปีใหม่) ขบวนรถนำเที่ยวเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ | |||
รถพระที่นั่งประทับกลางวัน | พนก.[2] | เฉพาะกรณีที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพระบรมวงศานุวงศ์เสด็จพระราชดำเนินทางรถไฟเท่านั้น | |||
รถพระที่นั่งบรรทม | พนท.[2] | ||||
รถพระที่นั่งกลางวันและบรรทม | พกท.[2] |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ กซม.ป. 2106 (62 ที่นั่ง) ปรับปรุงใหม่ไฉไลกว่าเดิม
- ↑ 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 "ชื่อย่อรถโดยสาร" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2013-03-24. สืบค้นเมื่อ 2013-07-07.
- ↑ สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- ชนิดรถโดยสาร - การรถไฟแห่งประเทศไทย เก็บถาวร 2012-06-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน