มหาอำนาจ
มหาอำนาจ หมายถึง รัฐซึ่งได้รับการยอมรับว่ามีความสามารถแผ่อิทธิพลในระดับโลกได้ ลักษณะของรัฐมหาอำนาจ คือ ครอบครองอำนาจทางทหารและเศรษฐกิจ ตลอดจนอิทธิพลทางการทูตและอำนาจอ่อน (soft power) ซึ่งอาจเป็นเหตุให้ประเทศด้อยอำนาจต้องพิจารณาความเห็นของมหาอำนาจก่อนดำเนินการใด ๆ ของตน นักทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ระบุว่า ลักษณะของสถานภาพมหาอำนาจสามารถจำแนกเป็นขีดความสามารถของอำนาจ และมิติสถานภาพ ในบางครั้ง สถานภาพมหาอำนาจได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการในการประชุมที่สำคัญ ดังเช่น การประชุมแห่งเวียนนา[1] หรือในหน่วยงานระหว่างประเทศ ดังเช่น คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ[2]
คำว่า มหาอำนาจ (great power) มีใช้ครั้งแรกหมายถึงประเทศสำคัญ ๆ ของทวีปยุโรปในยุคหลังนโปเลียน[3] "มหาอำนาจ" ก่อตั้ง "ความร่วมมือแห่งยุโรป" (Concert of Europe) และอ้างสิทธิในการบังคับใช้สนธิสัญญาหลังสงครามร่วมกัน การแบ่งแยกระหว่างประเทศด้อยอำนาจกับมหาอำนาจมีขึ้นอย่างเป็นทางการในสนธิสัญญาเชามงใน ค.ศ. 1814[4] นับตั้งแต่นั้น ดุลภาพแห่งอำนาจระหว่างประเทศได้มีการเปลี่ยนแปลงหลายครั้ง โดยครั้งที่สำคัญเกิดขึ้นหลังจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสงครามโลกครั้งที่สอง อย่างไรก็ตาม แม้ว่าบางชาติจะถูกพิจารณาว่าเป็นมหาอำนาจอย่างกว้างขวาง แต่ยังไม่มีรายชื่อจำกัดความ จึงนำไปสู่การโต้เถียงกันต่อไป
ลักษณะ
[แก้]ไม่มีเกณฑ์หรือลักษณะจำกัดความของมหาอำนาจ ลักษณะเหล่านี้มักถือว่าเป็นเชิงประสบการณ์และประจักษ์ชัดในตัวของผู้ประเมิน[5] อย่างไรก็ดี ความเข้าใจนี้มีข้อเสียเรื่องอัตวิสัย ผลคือ มีความพยายามหยิบยกเกณฑ์สามัญบางข้อมาพิจารณาและจัดเป็นส่วนสำคัญของสถานภาพมหาอำนาจ
งานเขียนช่วงต้นเกี่ยวกับเรื่องนี้มักตัดสินรัฐตามเกณฑ์สัจนิยม ตามที่แสดงโดยนักประวัติศาสตร์ เอ. เจ. พี. เทย์เลอร์ เมื่อเขาเขียนว่า "การทดสอบมหาอำนาจ คือ การทดสอบความเข้มแข็งในการทำสงคราม"[6] นักเขียนสมัยหลังได้ขยายการทดสอบนี้ โดยพยายามนิยามมหาอำนาจในแง่ขีดความสามารถทางทหาร เศรษฐกิจและการเมืองโดยรวม[7] เคนเน็ธ วอลทซ์ ผู้ก่อตั้งทฤษฎีสัจนิยมใหม่ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ได้ใช้ชุดหลักเกณฑ์ 5 ข้อ เพื่อระบุความเป็นมหาอำนาจ: คุณภาพ,จำนวนประชากรและลักษณะที่ตั้งของภูมิประเทศ; การบริหารทรัพยากร; ศักยภาพทางเศรษฐกิจ; ความมั่นคงและอำนาจทางการเมือง;อำนาจทางการทหาร เกณฑ์ดังกล่าวสามารถแบ่งออกได้ในสามหัวข้อ: ขีดความสามารถแห่งอำนาจในแง่พื้นที่ และสถานภาพ[1]
ประวัติศาสตร์
[แก้]ในการประชุมใหญ่แห่งเวียนนาได้มีการตั้ง 5 มหาอำนาจคือ จักรวรรดิออสเตรีย, ฝรั่งเศส, ปรัสเซีย, รัสเซีย และสหราชอาณาจักร
-
การประชุมใหญ่แห่งเวียนนา โดยฌ็อง-บาติสต์ อีซาแบ ค.ศ. 1819
มหาอำนาจกับสงคราม
[แก้]ระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ฝ่ายสัมพันธมิตรมีมหาอำนาจอยู่ 5 ประเทศคือ สหราชอาณาจักร, ฝรั่งเศส, อิตาลี, ญี่ปุ่น, และสหรัฐ ซึ่งหลังสงครามฝ่ายมหาอำนาจกลางคือจักรวรรดิเยอรมันและออสเตรีย-ฮังการี ที่เป็นมหาอำนาจได้พ่ายแพ้สงครามและล่มสลาย ส่วนมหาอำนาจรัสเซียที่อยู่ในฝ่ายสัมพันธมิตรก็เกิดการปฏิวัติรัสเซียจนล่มสลาย ต่อมาในการประชุมสันติภาพปารีส ค.ศ. 1919 ได้กำเนิด"บิกโฟร์" คือ ฝรั่งเศส, อิตาลี, สหราชอาณาจักร และสหรัฐ
-
พระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร และจักรพรรดินิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย
-
จักรพรรดิวิลเฮ็ล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี และจักรพรรดิฟรันทซ์ โยเซ็ฟที่ 1 แห่งออสเตรีย-ฮังการี
-
จักรพรรดิวิลเฮ็ล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี และพระเจ้าวิตโตรีโอ เอมานูเอเลที่ 3 แห่งอิตาลี
-
วิลเฮ็ล์มที่ 2, เมห์เหม็ดที่ 5, ฟรันทซ์ โยเซ็ฟที่ 1, เฟอร์ดินานด์ที่ 1 สี่ประมุขแห่งรัฐของฝ่ายมหาอำนาจกลาง
ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ฝ่ายสัมพันธมิตรคือ สหรัฐ สหราชอาณาจักร และสหภาพโซเวียต ได้รวมกันเป็น"บิกทรี" ส่วนจีนได้มาเข้าร่วมในเวลาต่อมากลายเป็น"บิกโฟร์" ส่วนฝ่ายอักษะคือ เยอรมนี, อิตาลี, และญี่ปุ่น ถูกเรียกว่า"สามมหาอำนาจอักษะ" ได้พ่ายแพ้สงครามและล่มสลายไป ซึ่งหลังสงครามได้เกิดมหาอำนาจ 5 ประเทศคือ สหรัฐ สหราชอาณาจักร สหภาพโซเวียต ฝรั่งเศส และจีน
-
ผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามแปซิฟิก: เจียง ไคเชก, แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ และวินสตัน เชอร์ชิล ในการประชุมไคโร
มหาอำนาจกับสนธิสัญญาสันติภาพ
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
มหาอำนาจหลังสงครามเย็น
[แก้]จีน ฝรั่งเศส รัสเซีย สหราชอาณาจักร และ สหรัฐ ถูกเรียกว่าเป็นมหาอำนาจ โดยทั้ง 5 ชาตินั้นมีพลังอำนาจในฐานะสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ และยังเป็นรัฐนิวเคลียร์ที่อยู่ภายใต้สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์อีกด้วย
หลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี ค.ศ. 1991 คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติจึงได้ให้รัสเซียเข้ามารับตำแหน่งสมาชิกถาวรแทน แต่รัสเซียก็ได้สูญเสียตำแหน่งอภิมหาอำนาจ จึงทำให้สหรัฐได้กลายเป็นอภิมหาอำนาจเพียงหนึ่งเดียว
อย่างไรก็ตาม บริบทของคำว่า มหาอำนาจ ในปัจจุบัน ได้มีการเรียกใหม่เป็น จีน ฝรั่งเศส สหราชอาณาจักร รัสเซีย ญี่ปุ่น และ เยอรมนี ซึ่งญี่ปุ่น และ เยอรมนี ที่เป็นประเทศอำนาจปานกลาง แต่อย่างไรก็ดี ญี่ปุ่น และ เยอรมนี ก็ยังสามารถรวมอยู่ในมหาอำนาจได้
ในปัจจุบันมีมหาอำนาจคือ สหรัฐ รัสเซีย สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส จีน เยอรมนี และ ญี่ปุ่น
การพัฒนามหาอำนาจ
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การจัดระบบตามลำดับชั้นของมหาอำนาจ
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ประเทศมหาอำนาจแบ่งตามช่วงเวลา
[แก้]
ดูเพิ่ม
[แก้]- ประเทศอำนาจนำภูมิภาค (regional power)
- อภิมหาอำนาจ (superpower)
- ประเทศอำนาจปานกลาง (middle power)
- ประเทศด้อยอำนาจ (small power)
- กลุ่ม 7 (G7)
ข้อมูล
[แก้]- ↑ For Austria in 1815, see: [8][9][1]
- ↑ For Austria in 1880, see: [10]
- ↑ For Austria in 1900, see: [11]
- ↑ For the United Kingdom in 1815, see: [8][9][1]
- ↑ For the United Kingdom in 1880, see: [10]
- ↑ For the United Kingdom in 19900, see: [11]
- ↑ For the United Kingdom in 1919, see: [12]
- ↑ After the Statute of Westminster came into effect in 1931, the United Kingdom no longer represented the British Empire in world affairs.
- ↑ For the United Kingdom in 1938, see: [nb 8][13]
- ↑ For the United Kingdom in 1946, see: [8][14][15]
- ↑ For the United Kingdom in 2000, see: [16][17][14][8][18][19][20][21][22][23]
- ↑ For the United Kingdom in 2010, see: [16][17][14][8][21][24][22]
- ↑ For China in 1946, see: [8][14]
- ↑ For China in 2000, see: [8][14][17][21][25][26]
- ↑ For China in 2010, see: [8][14][17][21][25][27]
- ↑ For France in 1815, see: [8][9][1]
- ↑ For France in 1880, see: [10]
- ↑ For France in 1900, see: [11]
- ↑ For France in 1919, see: [12]
- ↑ For France in 1938, see: [13]
- ↑ For France in 1946, see: [8][14]
- ↑ For France in 2000, see: [16][8][14][17][18][19][21]
- ↑ For France in 2010, see: [16][8][14][17][21][24]
- ↑ For Germany in 1815, see: [8][9][1]
- ↑ For Germany in 1880, see: [10]
- ↑ For Germany in 1900, see: [11]
- ↑ For Germany in 1938, see: [13]
- ↑ For Germany in 2000, see: [16][8][17][18][19][21]
- ↑ For Germany in 2010, see: [16][8][17][21][28][29]
- ↑ For Italy in 1880, see: [30][31][32][33]
- ↑ For Italy in 1900, see: [11]
- ↑ For Italy in 1919, see: [12]
- ↑ For Italy in 1938, see: [13]
- ↑ For Italy in 2000, see: [16][18][19][34][35][36]
- ↑ For Italy in 2010, see: [16][18][19][37][38][39]
- ↑ For Japan in 1900, see: [11]
- ↑ "The Prime Minister of Canada (during the Treaty of Versailles) said that there were 'only three major powers left in the world the United States, Britain and Japan' ... (but) The Great Powers could not be consistent. At the instance of Britain, Japan's ally, they gave Japan five delegates to the Peace Conference, just like themselves, but in the Supreme Council the Japanese were generally ignored or treated as something of a joke." from MacMillan, Margaret (2003). Paris 1919. United States of America: Random House Trade. p. 306. ISBN 0-375-76052-0.
- ↑ For Japan in 1919, see: [12][nb 37]
- ↑ For Japan in 1938, see: [13]
- ↑ For Japan in 2000, see: [8][17][25][40][18][21]
- ↑ For Japan in 2010, see: [8][17][25][40][21][41]
- ↑ For Russia in 1815, see: [8][9][1]
- ↑ For Russia in 1880, see: [10]
- ↑ For Russia in 1900, see: [11]
- ↑ For Russia in 1938, see: [13]
- ↑ For Russia in 1946, see: [8][14][15]
- ↑ For Russia in 2000, see: [8][14][17][25][18][19][21]
- ↑ For Russia in 2010, see: [8][14][17][25][21][42]
- ↑ For the United States in 1900, see: [11]
- ↑ For the United States in 1919, see: [12]
- ↑ For the United States in 1938, see: [13]
- ↑ For the United States in 1946, see: [8][14][15]
- ↑ For the United States in 2000, see: [16][8][14][17][43][18][19][21]
- ↑ For the United States in 2010, see: [16][8][14][17][43][18][19][21]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 Danilovic, Vesna. "When the Stakes Are High—Deterrence and Conflict among Major Powers", University of Michigan Press (2002), p 27, p225-p228 (PDF chapter downloads) เก็บถาวร 2006-08-30 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (PDF copy). อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ "When the Stakes Are High—Deterrence and Conflict among Major Powers" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน - ↑ Kelsen, Hans (2000). The law of the United Nations: a critical analysis of its fundamental ... United States of America: The Lawbook Exchange, Ltd. pp. 272–281, 911. ISBN 1584770775.
- ↑ Webster, Charles K, Sir (ed), British Diplomacy 1813–1815: Selected Documents Dealing with the Reconciliation of Europe, G Bell (1931), p307.
- ↑ Toje, A. (2010). The European Union as a small power: After the post-Cold War. New York: Palgrave Macmillan.
- ↑ Waltz, Kenneth N (1979). Theory of International Politics. McGraw-Hill. p. 131. ISBN 0-201-08349-3.
- ↑ Taylor, Alan JP (1954). The Struggle for Mastery in Europe 1848–1918. Oxford: Clarendon. p. xxiv. ISBN 0-19-881270-1.
- ↑ Organski, AFK – World Politics, Knopf (1958)
- ↑ 8.00 8.01 8.02 8.03 8.04 8.05 8.06 8.07 8.08 8.09 8.10 8.11 8.12 8.13 8.14 8.15 8.16 8.17 8.18 8.19 8.20 8.21 8.22 8.23 Peter Howard (2008). "Great Powers". Encarta. MSN. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-11-23. สืบค้นเมื่อ 2008-12-20.
{{cite encyclopedia}}
: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์) - ↑ 9.0 9.1 9.2 9.3 9.4 Fueter, Eduard (1922). World history, 1815–1920. United States of America: Harcourt, Brace and Company. pp. 25–28, 36–44. ISBN 1584770775.
- ↑ 10.0 10.1 10.2 10.3 10.4 McCarthy, Justin (1880). A History of Our Own Times, from 1880 to the Diamond Jubilee. New York, United States of America: Harper & Brothers, Publishers. pp. 475–476.
- ↑ 11.0 11.1 11.2 11.3 11.4 11.5 11.6 11.7 Dallin, David. The Rise of Russia in Asia.
- ↑ 12.0 12.1 12.2 12.3 12.4 MacMillan, Margaret (2003). Paris 1919. United States of America: Random House Trade. pp. 36, 306, 431. ISBN 0-375-76052-0.
- ↑ 13.0 13.1 13.2 13.3 13.4 13.5 13.6 Harrison, M (2000) The Economics of World War II: Six Great Powers in International Comparison, Cambridge University Press.
- ↑ 14.00 14.01 14.02 14.03 14.04 14.05 14.06 14.07 14.08 14.09 14.10 14.11 14.12 14.13 14.14 Louden, Robert (2007). The world we want. United States of America: Oxford University Press US. p. 187. ISBN 0195321375.
- ↑ 15.0 15.1 15.2 The Superpowers: The United States, Britain and the Soviet Union – Their Responsibility for Peace (1944), written by William T.R. Fox
- ↑ 16.00 16.01 16.02 16.03 16.04 16.05 16.06 16.07 16.08 16.09 Canada Among Nations, 2004: Setting Priorities Straight. McGill-Queen's Press - MQUP. 17 January 2005. p. 85. ISBN 0773528369. สืบค้นเมื่อ 13 June 2016. ("The United States is the sole world's superpower. France, Italy, Germany and the United Kingdom are great powers")
- ↑ 17.00 17.01 17.02 17.03 17.04 17.05 17.06 17.07 17.08 17.09 17.10 17.11 17.12 17.13 T. V. Paul; James J. Wirtz; Michel Fortmann (2005). Balance of Power. United States of America: State University of New York Press, 2005. pp. 59, 282. ISBN 0791464016. Accordingly, the great powers after the Cold War are Britain, China, France, Germany, Japan, Russia, and the United States p.59
- ↑ 18.0 18.1 18.2 18.3 18.4 18.5 18.6 18.7 18.8 Sterio, Milena (2013). The right to self-determination under international law : "selfistans", secession and the rule of the great powers. Milton Park, Abingdon, Oxon: Routledge. p. xii (preface). ISBN 0415668182. สืบค้นเมื่อ 13 June 2016. ("The great powers are super-sovereign states: an exclusive club of the most powerful states economically, militarily, politically and strategically. These states include veto-wielding members of the United Nations Security Council (United States, United Kingdom, France, China, and Russia), as well as economic powerhouses such as Germany, Italy and Japan.")
- ↑ 19.0 19.1 19.2 19.3 19.4 19.5 19.6 19.7 Transforming Military Power since the Cold War: Britain, France, and the United States, 1991–2012. Cambridge University Press. 2013. p. 224. ISBN 1107471494. สืบค้นเมื่อ 13 June 2016. (During the Kosovo War (1998) "...Contact Group consisting of six great powers (the United states, Russia, France, Britain, Germany and Italy).")
- ↑ McCourt, David (28 May 2014). Britain and World Power Since 1945: Constructing a Nation's Role in International Politics. United States of America: University of Michigan Press. ISBN 0472072218.
- ↑ 21.00 21.01 21.02 21.03 21.04 21.05 21.06 21.07 21.08 21.09 21.10 21.11 21.12 21.13 Baron, Joshua (22 January 2014). Great Power Peace and American Primacy: The Origins and Future of a New International Order. United States: Palgrave Macmillan. ISBN 1137299487.
- ↑ 22.0 22.1 Chalmers, Malcolm (May 2015). "A Force for Order: Strategic Underpinnings of the Next NSS and SDSR" (PDF). Royal United Services Institute. Briefing Paper (SDSR 2015: Hard Choices Ahead): 2. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-04-12. สืบค้นเมื่อ 2018-07-14.
While no longer a superpower (a position it lost in the 1940s), the UK remains much more than a 'middle power'.
- ↑ Walker, William (22 September 2015). "Trident's Replacement and the Survival of the United Kingdom". International Institute for Strategic Studies, Global Politics and Strategy. 57 (5): 7–28. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-10-20. สืบค้นเมื่อ 31 December 2015.
Trident as a pillar of the transatlantic relationship and symbol of the UK's desire to remain a great power with global reach.
- ↑ 24.0 24.1 P. Shearman, M. Sussex, European Security After 9/11(Ashgate, 2004) - According to Shearman and Sussex, both the UK and France were great powers now reduced to middle power status.
- ↑ 25.0 25.1 25.2 25.3 25.4 25.5 UW Press: Korea's Future and the Great Powers
- ↑ "Yong Deng and Thomas G. Moore (2004) "China Views Globalization: Toward a New Great-Power Politics?" The Washington Quarterly" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2009-08-24. สืบค้นเมื่อ 2014-07-31.
- ↑ "Yong Deng and Thomas G. Moore (2004) "China Views Globalization: Toward a New Great-Power Politics?" The Washington Quarterly" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2009-08-24. สืบค้นเมื่อ 2014-07-31.
- ↑ Otte M, Greve J (2000) A Rising Middle Power?: German Foreign Policy in Transformation, 1989-1999, St. Martin's Press
- ↑ Sperling, James (2001). "Neither Hegemony nor Dominance: Reconsidering German Power in Post Cold-War Europe". British Journal of Political Science. 31 (2). doi:10.1017/S0007123401000151.
- ↑ Kennedy, Paul (1987). The Rise and Fall of the Great Powers. United States of America: Random House. p. 204. ISBN 0-394-54674-1.
- ↑ Best, Antony; Hanhimäki, Jussi; Maiolo, Joseph; Schulze, Kirsten (2008). International History of the Twentieth Century and Beyond. United States of America: Routledge. p. 9. ISBN 0415438969.
- ↑ Wight, Martin (2002). Power Politics. United Kingdom: Continuum International Publishing Group. p. 46. ISBN 0826461743.
- ↑ Waltz, Kenneth (1979). Theory of International Politics. United States of America: McGraw-Hill. p. 162. ISBN 0-07-554852-6.
- ↑ "Italy plays a prominent role in European and global military, cultural and diplomatic affairs. The country's European political, social and economic influence make it a major regional power." See Italy: Justice System and National Police Handbook, Vol. 1 (Washington, D.C.: International Business Publications, 2009), p. 9.
- ↑ Italy: 150 years of a small great power, eurasia-rivista.org, 21 December 2010
- ↑ Verbeek, Bertjan; Giacomello, Giampiero (2011). Italy's foreign policy in the twenty-first century : the new assertiveness of an aspiring middle power. Lanham, Md.: Lexington Books. ISBN 978-0-7391-4868-6.
- ↑ "Italy plays a prominent role in European and global military, cultural and diplomatic affairs. The country's European political, social and economic influence make it a major regional power." See Italy: Justice System and National Police Handbook, Vol. 1 (Washington, D.C.: International Business Publications, 2009), p. 9.
- ↑ Italy: 150 years of a small great power, eurasia-rivista.org, 21 December 2010
- ↑ Verbeek, Bertjan; Giacomello, Giampiero (2011). Italy's foreign policy in the twenty-first century : the new assertiveness of an aspiring middle power. Lanham, Md.: Lexington Books. ISBN 978-0-7391-4868-6.
- ↑ 40.0 40.1 Richard N. Haass, "Asia's overlooked Great Power", Project Syndicate April 20, 2007.
- ↑ Robert W. Cox, 'Middlepowermanship, Japan, and Future World Order, International Journal, Vol. 44, No. 4 (1989), pp. 823-862.
- ↑ Neumann, Iver B. (2008). "Russia as a great power, 1815–2007". Journal of International Relations and Development. 11: 128–151 [p. 128]. doi:10.1057/jird.2008.7.
As long as Russia's rationality of government deviates from present-day hegemonic neo-liberal models by favouring direct state rule rather than indirect governance, the West will not recognize Russia as a fully fledged great power.
- ↑ 43.0 43.1 "Analyzing American Power in the Post-Cold War Era". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-05-18. สืบค้นเมื่อ 2007-02-28.