ข้ามไปเนื้อหา

ประเทศองค์ประกอบ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ประเทศองค์ประกอบ (อังกฤษ: constituent country) เป็นคำที่บางครั้งใช้เรียกประเทศที่มีฐานะเป็นส่วนหนึ่งของหน่วยทางการเมืองที่ใหญ่กว่า เช่น รัฐเอกราช คำว่าประเทศองค์ประกอบนี้ไม่มีความหมายในทางกฎหมาย และใช้เรียก ประเทศ ที่เป็นส่วนประกอบหนึ่งของหน่วยอื่นเท่านั้น

ในรัฐเดี่ยว

[แก้]

เดนมาร์ก

[แก้]

ฝรั่งเศส

[แก้]

เนเธอร์แลนด์

[แก้]

นิวซีแลนด์

[แก้]

สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์

[แก้]

สหราชอาณาจักร

[แก้]

บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา

[แก้]

จีน

[แก้]

จีนไม่มีการระบุองค์ประกอบ แต่ประกอบด้วยเขตบริหารพิเศษฮ่องกงและเขตบริหารพิเศษมาเก๊า

ในสหพันธรัฐ

[แก้]

สหภาพโซเวียต

[แก้]
แผนที่สหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตระหว่าง ค.ศ. 1956–1991

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต สมาชิก
ตั้งแต่
ประชากร
(ค.ศ. 1989)
ประชากร/
ประชากรของสหภาพ
(ร้อยละ)
เนื้อที่
(ตร.กม.)
(ค.ศ. 1991)
เนื้อที่/
เนื้อที่ของสหภาพ
(ร้อยละ)
เมืองหลวง

รัฐเอกราช
หมายเลข

สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย 1922 147,386,000 51.40 17,075,400 76.62 มอสโก  รัสเซีย 1
สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน 1922 51,706,746 18.03 603,700 2.71 เคียฟ
(คาร์คิฟ ก่อน ค.ศ. 1934)
 ยูเครน 2
สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก 1924 19,906,000 6.94 447,400 2.01 ทาชเคนต์
(ซามาร์กันต์ ก่อน ค.ศ. 1930)
 อุซเบกิสถาน 4
สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคาซัค 1936 16,711,900 5.83 2,727,300 12.24 อัลมา-อะตา  คาซัคสถาน 5
สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย 1922 10,151,806 3.54 207,600 0.93 มินสค์  เบลารุส 3
สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาเซอร์ไบจาน 1936 7,037,900 2.45 86,600 0.39 บากู  อาเซอร์ไบจาน 7
สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตจอร์เจีย 1936 5,400,841 1.88 69,700 0.31 ทบิลิซี  จอร์เจีย 6
สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิก 1929 5,112,000 1.78 143,100 0.64 ดูชานเบ  ทาจิกิสถาน 12
สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตมอลเดเวีย 1940 4,337,600 1.51 33,843 0.15 คิชิเนฟ  มอลโดวา 9
สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคีร์กีซ 1936 4,257,800 1.48 198,500 0.89 ฟรุนเซ  คีร์กีซสถาน 11
สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลิทัวเนีย 1940 3,689,779 1.29 65,200 0.29 วิลนีอุส  ลิทัวเนีย 8
สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเติร์กเมน 1924 3,522,700 1.23 488,100 2.19 อาชกาบัต  เติร์กเมนิสถาน 14
สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาร์มีเนีย 1936 3,287,700 1.15 29,800 0.13 เยเรวาน  อาร์มีเนีย 13
สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลัตเวีย 1940 2,666,567 0.93 64,589 0.29 รีกา  ลัตเวีย 10
สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเอสโตเนีย 1940 1,565,662 0.55 45,226 0.20 ทาลลินน์  เอสโตเนีย 15

ยูโกสลาเวีย

[แก้]

เชโกสโลวาเกีย

[แก้]

เซนต์คิตส์และเนวิส

[แก้]

ตามความในรัฐธรรมนูญ เกาะเนวิสมีสิทธิตามรัฐธรรมนูญที่จะแยกตัวออกจากสหพันธรัฐเซนต์คิตส์และเนวิสและกลายเป็นรัฐเอกราชได้ การจัดการลงประชามติแยกตัวของเนวิสเกิดขึ้นเมือวันที่ 10 สิงหาคม ค.ศ. 1998 โดยมีประชากรชาวเนวิสลงคะแนนเสียงร้อยละ 62 เพื่อสนับสนุนการแยกตัว อย่างไรก็ตามไม่สามารถแยกตัวเป็นเอกราชได้ เนื่องจากไม่ถึง 2 ใน 3 ซึ่งถูกกำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ[6] จึงอาจกล่าวได้ว่าทั้งเซนต์คิสและเนวิสเป็นประเทศองค์ประกอบของสหพันธรัฐเซนต์คิตส์และเนวิส

เซอร์เบียและมอนเตเนโกร

[แก้]

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "The North Atlantic area and The West Nordic Council". Vestnordisk Råd. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 มกราคม 2012. สืบค้นเมื่อ 8 มีนาคม 2011.
  2. "Factsheet Denmark: Greenland" (PDF). Royal Danish Ministry of Foreign Affairs. มกราคม 2004. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 26 กรกฎาคม 2011.
  3. "The Cook Islands Government Online". Cook Islands Government. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 31 สิงหาคม 2011. สืบค้นเมื่อ 8 มีนาคม 2011.
  4. "AusAid". Australian Government. 23 กันยายน 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 มกราคม 2012. สืบค้นเมื่อ 8 มีนาคม 2008.
  5. "Niue". Australian Department of Foreign Affairs and Trade. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 ธันวาคม 2011. สืบค้นเมื่อ 8 มีนาคม 2011.
  6. "Federation of St. Kitts and Nevis / Federación de San Kitts y Nevis: 1998 Referendum". Political Database of the Americas. Georgetown University. 22 กันยายน 2005. สืบค้นเมื่อ 17 กันยายน 2014.