ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดหนองคายในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดหนองคายในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531

← พ.ศ. 2529 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 มีนาคม พ.ศ. 2535 →

5 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน339,033
ผู้ใช้สิทธิ74.92%
  First party Second party Third party
 
Chatichai Choonhavan.jpg
อาทิตย์ กำลังเอก.jpg
Tianchai Sirisampan.jpg
ผู้นำ ชาติชาย ชุณหะวัณ อาทิตย์ กำลังเอก เทียนชัย สิริสัมพันธ์
พรรค ชาติไทย ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ราษฎร (พ.ศ. 2529)
ที่นั่งก่อนหน้า 2 0 0
ที่นั่งที่ชนะ 3 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น1

  Fourth party Fifth party
 
Narong Wongwan.jpg
Bhichai Rattakul 2010-04-01.jpg
ผู้นำ ณรงค์ วงศ์วรรณ พิชัย รัตตกุล
พรรค รวมไทย (พ.ศ. 2529) ประชาธิปัตย์
ที่นั่งก่อนหน้า 1 2
ที่นั่งที่ชนะ 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1 ลดลง2

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ชาติชาย ชุณหะวัณ
ชาติไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดหนองคาย พ.ศ. 2531 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 5 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2529 โดยแต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 2)[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองหนองคาย, อำเภอศรีเชียงใหม่, อำเภอท่าบ่อ, อำเภอสังคม, อำเภอโพนพิสัย และอำเภอปากคาด

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดหนองคาย
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทย ประสิทธิ์ จันทาทอง (8) 73,420
ชาติไทย ทรงยศ รามสูต (7)* 65,711
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) นิตินัย นาครทรรพ (4)✔ 64,764
ประชาธิปัตย์ ฉัตรชัย เอียสกุล (13)* 49,188
ชาติไทย พันตำรวจเอก ช่วงชัย สัจจพงษ์ (9) 32,648
รวมไทย (พ.ศ. 2529) สุนทร นิลเกตุ (20)* 31,463
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) พวน แสงฮาด (5) 22,057
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) บุญนาค มูลศรีละ (6) 18,552
ประชากรไทย สรรเสริญ โกวิทศิริกุล (22) 15,168
กิจประชาคม พิชัย ยุวนิช (10) 6,180
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) รุ่งอรุณ สุนทร (2) 3,877
พลังธรรม วัฒนา ดวงภมร (17) 3,240
พลังธรรม ชัยวัฒน์ บุญประกอบ (16) 2,856
กิจประชาคม วีระชัย เมี้ยนทอง (12) 2,460
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ชำนาญ กองแก้ว (3) 2,083
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ธานี สองหลวง (1) 1,696
พลังธรรม จุฑา สุทธิวุฒินฤเบศร์ (18) 1,663
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ชัยชนะ ผุสดี (34) 1,645
ประชากรไทย สิทธิ์ จันทาคีรี (23) 1,619
ประชากรไทย เสมศักดิ์ แก้วแสนเมือง (24) 1,211
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ล้วน คชวงศ์ (26) 1,143
ประชาธิปัตย์ อดิศักดิ์ จงจิระศิริ (14) 1,053
รวมไทย (พ.ศ. 2529) เพลินจิต แก้วคำแจ้ง (21) 812
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) อุทิศ กลัดณรงค์ (27) 790
กิจประชาคม เสทื้อน จันทรสวัสดิ์ (11) 740
ประชาธิปัตย์ ชัยณรงค์ คุณวุฒิฤทธิรณ (15) 644
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ประสิทธิ์ งามบุปผา (19) 611
ราษฎร (พ.ศ. 2529) เช้า จันทะแจ่ม (35) 594
มวลชน พวงเพชร จันทรัตน์ (28) 567
ประชาชน (พ.ศ. 2531) สมชาย ระวิวรรณ (31) 399
ประชาชน (พ.ศ. 2531) ประเสริฐ พิทักษ์กุล (32) 357
ราษฎร (พ.ศ. 2529) โสวิทย์ บำรุงภักดิ์ (36) 328
มวลชน พวงแก้ว จันทรัตน์ (29) 281
ประชาชน (พ.ศ. 2531) วิศิษฐ์ เหมะธุลิน (33) 260
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) เยี่ยม หลักฐาน (25) 259
มวลชน สุรวดี ประชานันท์ (30) 251
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์
ชาติไทย รักษาที่นั่ง
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ได้ที่นั่งจาก รวมไทย (พ.ศ. 2529)

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอบึงกาฬ, อำเภอเซกา, อำเภอโซ่พิสัย, อำเภอพรเจริญ, กิ่งอำเภอบึงโขงหลง และกิ่งอำเภอศรีวิไล

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดหนองคาย
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ราษฎร (พ.ศ. 2529) สุเมธ พรมพันห่าว (19) 29,567
ชาติไทย ไชยวัฒน์ พรหมประสิทธิ์ (3)* 23,170
รวมไทย (พ.ศ. 2529) คำแดง สุทธิสาร (13) 18,730
ประชาธิปัตย์ เฉลิมชัย เอียสกุล (9)* 17,759
กิจประชาคม อนุวัฒน์ บัวพรหมมี (22)✔ 11,226
พลังธรรม สิบตำรวจโท ธงศักดิ์ เตจ๊ะลือ (15) 10,701
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) หนูศิลป์ นาเมืองรักษ์ (17) 8,160
พลังธรรม เชิด ศรีหาบุตร (16) 6,833
พลังสังคมประชาธิปไตย พลศักดิ์ สุดสนธิ์ (25)✔ 6,335
สหประชาธิปไตย เสน่ห์ ดาวจำลอง (7) 3,768
ประชากรไทย ลม กาญจสาร (12) 3,529
กิจประชาคม พูนศักดิ์ สารธิราช (21) 2,782
ประชาชน (พ.ศ. 2531) วีระเชษฐ สุรสีหเสนา (1) 2,327
สหประชาธิปไตย วิโรจน์ กองแก้ว (8) 2,068
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) วีระชัย ชาติเจริญ (23) 1,637
มวลชน อิสระ สุรฤทธิพงศ์ (28) 1,609
กิจสังคม ร้อยตำรวจโท ศุภชัย เอมะรุจิ (5) 1,535
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ผ่อน สุโภภาค (18) 1,472
รวมไทย (พ.ศ. 2529) บัวพันธ์ เกษสิมมา (14) 1,285
ประชาชน (พ.ศ. 2531) พิน ระวะรักษ์ (2) 1,238
กิจสังคม นพดล กัณฑะวงษ์ (6) 1,019
ชาติไทย เฉวียง พันธ์หนอง (4) 828
เกษตรอุตสาหกรรมไทย วาสุเทพ ศรีโสดา (29) 740
ประชากรไทย แสงนภา ไกรโสม (11) 525
มวลชน บุญเพ็ญ สาลีพันธ์ (27) 520
ราษฎร (พ.ศ. 2529) สมาน รัตนติสร้เอย (20) 506
เกษตรอุตสาหกรรมไทย วาสนา อร่ามกุล (30) 497
พลังสังคมประชาธิปไตย สุข หมั่นเพียร (26) 420
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) พรชัย จุกจันทร์ (24) 417
ประชาธิปัตย์ วิเวก ถมยา (10) 326
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์
ชาติไทย รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2531. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2532