ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดศรีสะเกษในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดศรีสะเกษในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531

← พ.ศ. 2529 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 มีนาคม พ.ศ. 2535 →

8 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน570,598
ผู้ใช้สิทธิ65.96%
  First party Second party Third party
 
Narong Wongwan.jpg
Chatichai Choonhavan.jpg
Siddhi Savetsila (1980).jpg
ผู้นำ ณรงค์ วงศ์วรรณ ชาติชาย ชุณหะวัณ สิทธิ เศวตศิลา
พรรค รวมไทย (พ.ศ. 2529) ชาติไทย กิจสังคม
ที่นั่งก่อนหน้า 3 1 1
ที่นั่งที่ชนะ 4 2 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น1 Steady0

  Fourth party Fifth party Sixth party
 
เฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์.jpg
พล เริงประเสริฐวิทย์.jpg
Bhichai Rattakul 2010-04-01.jpg
ผู้นำ เฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์ พล เริงประเสริฐวิทย์ พิชัย รัตตกุล
พรรค ประชาชน (พ.ศ. 2531) สหประชาธิปไตย ประชาธิปัตย์
ที่นั่งก่อนหน้า 0 1 2
ที่นั่งที่ชนะ 1 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 ลดลง1 ลดลง2

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ชาติชาย ชุณหะวัณ
ชาติไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ พ.ศ. 2531 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 8 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2529 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1 และ 2) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 3)[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองศรีสะเกษ, อำเภอกันทรารมย์, อำเภอราษีไศล, อำเภอยางชุมน้อย, อำเภอโนนคูณ, กิ่งอำเภอน้ำเกลี้ยง และกิ่งอำเภอวังหิน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดศรีสะเกษ
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทย ไพโรจน์ เครือรัตน์ (16)* 75,646
รวมไทย (พ.ศ. 2529) มหาหิงค์ ไพรสิน (10) 73,353
กิจสังคม กรองกาญจน์ วีสมหมาย (1)* 59,983
ประชาธิปัตย์ วิชิต แสงทอง (13)* 55,494
พลังธรรม พันโท โจม แก้วพรหม (4) 14,613
พลังธรรม สำรอง สุริยะวรรณ์ (5) 8,797
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ธีระ สุราวุธ (24) 7,393
พลังธรรม บุญถิ่น จันทรมนตรี (6) 7,323
ประชาธิปัตย์ มาลินี อุทธิเสน (14) 6,885
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) มานิตย์ พรหมมานนท์ (19)✔ 4,284
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ศักดิ์ชัย ศิษย์ประเสริฐ (11) 3,599
ประชาธิปัตย์ สุนทร เสนะเกตุ (15) 2,841
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) แก้ว สีหบัณฑ์ (22) 2,745
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ควง วังสาลุน (12) 2,392
กิจสังคม คำตัด เจตินัย (3) 2,041
กิจสังคม บังคม ผิวหอม (2) 1,825
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) วิชิต พวงมะลิ (23) 1,715
เกษตรอุตสาหกรรมไทย เรือง ฤทธิ์พรม (28) 1,489
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) นิคม รันทม (20) 1,259
ชาติไทย สมศักดิ์ ลาลุน (17) 1,056
ประชาชน (พ.ศ. 2531) ผดุง ชินวงศ์ (31) 851
ชาติไทย สมจิตต์ แสนใหม่ (18) 827
สหประชาธิปไตย พงศธร บุญอินทร์ (9) 805
ประชาชน (พ.ศ. 2531) ประภาส พิเชฐโสภณ (33) 684
สหประชาธิปไตย ทองขัน โปร่งจิต (7) 662
เกษตรอุตสาหกรรมไทย เสริมไทย ไพรศรี (30) 617
มวลชน ประภาส นามโคตร (26) 524
สหประชาธิปไตย ประยงค์ พื้นพันธ์ (8) 498
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) บุญมี พลคัตซ้าย (21) 471
เกษตรอุตสาหกรรมไทย เสรี วงศ์ภักดี (29) 403
มวลชน สุฑิตย์ นามโคตร (25) 289
ประชาชน (พ.ศ. 2531) หวิน วีรศักดิ์ (32) 216
มวลชน สวรรค์ นามโคตร (27) 151
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ชาติไทย รักษาที่นั่ง
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์
กิจสังคม รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอขุขันธ์, อำเภออุทุมพรพิสัย, อำเภอปรางค์กู่, อำเภอไพรบึง, อำเภอห้วยทับทัน และกิ่งอำเภอบึงบูรพ์

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดศรีสะเกษ
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ปิยะณัฐ วัชราภรณ์ (4)* 67,958
ประชาชน (พ.ศ. 2531) สวัสดิ์ สืบสายพรหม (15)* 64,004
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ประโภชฌ์ สภาวสุ (5) 51,976
สหประชาธิปไตย เริ่มรัฐ จิตรภักดี (7)* 49,384
ราษฎร (พ.ศ. 2529) เทิดภูมิ ใจดี (10) 37,994
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ดนัยฤทธิ์ วัชราภรณ์ (6) 34,406
ประชาชน (พ.ศ. 2531) ไสว สดใส (14) 18,867
ชาติไทย ประกอบ สุพัฒน์ (20) 9,465
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ประเสริฐ วิเศษชาติ (1) 6,652
พลังธรรม ว่าที่ร้อยตรี ธีรโชติ ศัตรวาหา (16) 3,263
พลังธรรม ไพบูลย์ นันทวงษ์ (17) 2,589
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ออมทรัพย์ แสงมาศ (3) 2,298
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) คมกริช สุระมิตร (26) 2,173
เกษตรอุตสาหกรรมไทย สุทธิชัย มนัสโส (30) 2,121
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) โกวิท ศรีสลับ (22) 2,037
ประชาชน (พ.ศ. 2531) อุปถัมป์ ดิษฐประสพ (13) 1,916
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) เรือตรี ช้วน โตกลม (2) 1,622
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ประพิศ รักสกุล (11) 1,529
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ขจิตหาญ ใยขันธ์ (12) 1,233
พลังธรรม สมบูรณ์ ณุวงศ์ศรี (18) 1,190
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ปราศรัย พรหมทา (25) 1,109
ประชาธิปัตย์ บุญช่วย จารัตน์ (31) 975
สหประชาธิปไตย ยุทธผล เวียงจันทร์ (9) 942
สหประชาธิปไตย นิสิต จำปาวัลย์ (8) 910
ชาติไทย ชัยวัฒน์ บุญชู (19) 826
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) สร้อย สนิท (24) 658
ชาติไทย ละเอียด พรหมคุณ (21) 436
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) พูล พิมพิสาร (27) 365
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ทองเปรม ศรีโพนทอง (23) 320
ประชาธิปัตย์ อุทัย หัทยา (33) 221
ประชาธิปัตย์ พันธ์ศักดิ์ อุทุมพร (32) 179
เกษตรอุุตสาหกรรมไทย วิไล ขาวสะอาด (28) 164
เกษตรอุุตสาหกรรมไทย เลี่ยม มีบุญ (29) 149
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
รวมไทย (พ.ศ. 2529) รักษาที่นั่ง
ประชาชน (พ.ศ. 2531) ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ได้ที่นั่งจาก สหประชาธิปไตย

เขตเลือกตั้งที่ 3

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอกันทรลักษ์, อำเภอขุนหาญ และกิ่งอำเภอศรีรัตนะ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดศรีสะเกษ
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
รวมไทย (พ.ศ. 2529) จำนงค์ โพธิสาโร (10)* 49,803
ชาติไทย วีระ ไชยะเดชะ (3) 38,768
รวมไทย (พ.ศ. 2529) สง่า วัชราภรณ์ (9)* 27,248
พลังธรรม สุภาพร สิงห์คำ (11) 12,466
พลังธรรม อำนวย เสน่หา (12) 5,470
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ร้อยตรี จินดา พรหมจันทร์ (15) 2,107
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สิทธิพร นวรัตนากร (16) 1,322
ประชากรไทย อุดร เทียนทอง (13) 1,244
สหประชาธิปไตย ชัชเวช สายชนะ (2) 1,222
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ไชยยงค์ เวชกามา (8) 1,088
ชาติไทย สมหมาย พรมลา (4) 788
ประชากรไทย วิเชียร คำเหลือ (14) 738
สหประชาธิปไตย แสวง ดาวเรือง (1) 697
ประชาชน (พ.ศ. 2531) วิชัย พรหมรินทร์ (19) 670
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) เรียน เวชกามา (7) 625
ประชาธิปัตย์ กวี สุทนต์ (6) 611
ประชาชน (พ.ศ. 2531) อิทธิพล ตระกาลจันทร์ (20) 583
ประชาธิปัตย์ เคลื่อน สุทนต์ (5) 418
เกษตรอุตสาหกรรมไทย ยุพิน สมจันทร์ (18) 381
เกษตรอุตสาหกรรมไทย พันธ์ อินพานิช (17)✔ 286
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
รวมไทย (พ.ศ. 2529) รักษาที่นั่ง
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก รวมไทย (พ.ศ. 2529)

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2531. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2532