ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดศรีสะเกษในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดศรีสะเกษในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519

← พ.ศ. 2518 4 เมษายน พ.ศ. 2519 พ.ศ. 2522 →

6 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน475,061
ผู้ใช้สิทธิ40.68%
  First party Second party Third party
 
ประมาณ อดิเรกสาร.jpg
Dawee Chullasapya (9to12).jpg
ผู้นำ บุญคุ้ม จันทรศรีสุริยวงศ์ ประมาณ อดิเรกสาร ทวี จุลละทรัพย์
พรรค พลังประชาชน (พ.ศ. 2517) ชาติไทย ธรรมสังคม
ที่นั่งก่อนหน้า 0 0 3
ที่นั่งที่ชนะ 2 2 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น2 เพิ่มขึ้น2 ลดลง2

  Fourth party Fifth party Sixth party
 
Kukrit Pramoj 1974 (cropped).jpg
โลโก้พรรคแผ่นดินไทย พ.ศ. 2517.png
สส-สวัสดิ์ (คำ).jpg
ผู้นำ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช สุนีรัตน์ เตลาน สวัสดิ์ คำประกอบ
พรรค กิจสังคม แผ่นดินไทย (พ.ศ. 2517) เกษตรสังคม
ที่นั่งก่อนหน้า 0 1 1
ที่นั่งที่ชนะ 1 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 ลดลง1 ลดลง1

  Seventh party
 
โลโก้พรรคเศรษฐกร พ.ศ. 2517.png
ผู้นำ ทิม ภูริพัฒน์
พรรค เศรษฐกร (พ.ศ. 2517)
ที่นั่งก่อนหน้า 1
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
กิจสังคม

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
ประชาธิปัตย์

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ พ.ศ. 2519 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2519 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 6 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2518 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองศรีสะเกษ, อำเภอกันทรลักษ์, อำเภอกันทรารมย์ และกิ่งอำเภอยางชุมน้อย

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดศรีสะเกษ
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจสังคม บุญชง วีสมหมาย (10) 31,447
ชาติไทย มานิตย์ พรหมมานนท์ (16)* 23,558
พลังประชาชน (พ.ศ. 2517) นิสิต เวทย์ศิริยานันท์ (1)✔ 22,760
สังคมชาตินิยม สำเริง ประสิทธิ์ศักดิ์ (7) 12,387
ธรรมสังคม นาวาเอก แสวง บุญยัง (4) 11,261
ธรรมสังคม สง่า วัชราภรณ์ (3)* 11,176
ประชาธิปัตย์ บัวทอง เดือนโชติ (22) 9,634
กิจสังคม บุญทัน เที่ยงธรรม (11) 9,444
ประชาธิปัตย์ สุภาพ วงษ์เจริญ (23) 9,392
กิจสังคม มานิต อุทธิเสน (9)* 7,817
ประชาธิปัตย์ นิคม บุญศักดิ์ (24) 7,010
ธรรมสังคม อภิชาติ ศิริถาพร (5) 6,089
เกษตรสังคม แก้ว สีหบัณฑ์ (12) 5,643
ฟื้นฟูชาติไทย มณี จันทศิลา (17) 4,261
แนวร่วมประชาธิปไตย จ่าสิบเอก หาญ ศรีหาสาร (25) 4,151
พลังใหม่ เรืออากาศเอก ไสว อินตะนัย (6) 4,147
ธรรมาธิปไตย ไพฑูรย์ ทิพยโสตถิ (32) 4,012
แรงงาน (ประเทศไทย) แก้ว สหัสรังษี (18) 3,573
เศรษฐกร (พ.ศ. 2517) ประเทือง ธรรมสาลี (26) 3,439
สังคมนิยมแห่งประเทศไทย ทองขัน โปร่งจิต (14) 3,361
สังคมนิยมแห่งประเทศไทย ชำนาญ แก้วคะตา (15) 2,857
พลังประชาชน (พ.ศ. 2517) เลื่อน ทองดี (2)✔ 2,631
ไท (พ.ศ. 2517) วรรณสิทธิ์ ทองศักดิ์ (20) 1,849
สังคมชาตินิยม จุรีย์ สุวรรณกำจาย (8) 1,740
พัฒนาจังหวัด ร้อยตรี จินดา พรหมจันทร์ (31) 1,393
เกษตรสังคม ไพรัตน์ ทองลักษณ์ (13) 1,194
ชาตินิยม สุรศักดิ์ อัศวเมธาพันธ์ (21) 922
ชาตินิยม หัสถ์ อำพร (28) 689
ไท (พ.ศ. 2517) วินิจ อรจันทร์ (19) 687
เศรษฐกร (พ.ศ. 2517) อำนวย สุขุมานันท์ (30) 595
ฟื้นฟูชาติไทย สิทธิพร นวรัตนากร (27) 491
ชาตินิยม บุญเลิศ ทยาปัตถา (29) 228
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก ธรรมสังคม
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก เกษตรสังคม
พลังประชาชน (พ.ศ. 2517) ได้ที่นั่งจาก แผ่นดินไทย (พ.ศ. 2517)

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอขุขันธ์, อำเภอราษีไศล, อำเภออุทุมพรพิสัย, อำเภอปรางค์กู่, อำเภอขุนหาญ และอำเภอไพรบึง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดศรีสะเกษ
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชาชน (พ.ศ. 2517) ชุมพล อรุณยะเดช (9) 31,662
ชาติไทย สุกิจ ศรีสาคร (11) 24,528
ธรรมสังคม ปิยะณัฐ วัชราภรณ์ (1)* 21,101
แนวร่วมสังคมนิยม พรชัย แสงชัชจ์ (6)✔ 18,207
พลังประชาชน (พ.ศ. 2517) สุจินต์ เชาว์วิศิษฐ (10)* 17,050
พลังใหม่ ไสว สดใส (7) 14,447
เกษตรสังคม เสนีย์ ช่างเพ็ชร (17) 12,476
ประชาธิปัตย์ ทิม ไชยยงยศ (4)✔ 12,257
ชาตินิยม พันตำรวจตรี ภาษิต นาคดี (20) 12,143
พลังใหม่ อำพา คชพันธ์ (12) 11,765
กิจสังคม พันธ์ อินพานิช (16) 11,653
ธรรมสังคม ธีระพล เชาวน์ประดิษฐ์ (2) 10,429
ธรรมสังคม อุทัย บูรณสมภพ (3) 10,280
กิจสังคม บุญเพ็ง ดวงจันทร์ (13) 9,277
ประชาธิปัตย์ รัตน์ รักษาวงศ์ (5) 7,411
กิจสังคม เริ่มรัฐ จิตรภักดี (15)* 6,692
สังคมชาตินิยม สอน ผาธรรม (8) 5,658
ชาตินิยม บุญ พรหมวงศานนท์ (14) 3,525
พิทักษ์ไทย เลี่ยม โพธิ์คำ (22) 3,282
แรงงาน (ประเทศไทย) จิตร เอมะรุจิ (19) 1,905
สังคมชาตินิยม นาค ลือขจร (18) 860
เศรษฐกร (พ.ศ. 2517) วิจิตร มหาสิน (26) 663
สยามใหม่ (พ.ศ. 2518) พยับ เติมใจ (23) 560
ฟื้นฟูชาติไทย ประเสริฐ วิเศษชาติ (24) 519
ธรรมาธิปไตย สุรพงษ์ วังเอก (21) 488
สยามใหม่ (พ.ศ. 2518) ชัยวัฒน์ บุญชู (25) 219
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
พลังประชาชน (พ.ศ. 2517) ได้ที่นั่งจาก ธรรมสังคม
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก เศรษฐกร (พ.ศ. 2517)
ธรรมสังคม รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ๔ เมษายน ๒๕๑๙ (วิจัย ๑). กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2519