ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดบุรีรัมย์ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดบุรีรัมย์ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519

← พ.ศ. 2518 4 เมษายน พ.ศ. 2519 พ.ศ. 2522 →

7 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน490,898
ผู้ใช้สิทธิ45.23%
  First party Second party Third party
 
ประมาณ อดิเรกสาร.jpg
Kukrit Pramoj 1974 (cropped).jpg
Seni Pramoj in 1945.jpg
ผู้นำ ประมาณ อดิเรกสาร หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
พรรค ชาติไทย กิจสังคม ประชาธิปัตย์
ที่นั่งก่อนหน้า 1 0 0
ที่นั่งที่ชนะ 4 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น3 เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น1

  Fourth party Fifth party Sixth party
 
สส-สวัสดิ์ (คำ).jpg
Somkid Srisangkom (cropped).png
โลโก้พรรคไท พ.ศ. 2517.png
ผู้นำ สวัสดิ์ คำประกอบ สมคิด ศรีสังคม แผ่พืชน์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา
พรรค เกษตรสังคม สังคมนิยมแห่งประเทศไทย ไท (พ.ศ. 2517)
ที่นั่งก่อนหน้า 0 1 1
ที่นั่งที่ชนะ 1 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 ลดลง1 ลดลง1

  Seventh party
 
Dawee Chullasapya (9to12).jpg
ผู้นำ ทวี จุลละทรัพย์
พรรค ธรรมสังคม
ที่นั่งก่อนหน้า 3
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง3

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
กิจสังคม

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
ประชาธิปัตย์

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดบุรีรัมย์ พ.ศ. 2519 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2519 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 7 คน จำนวนที่นั่งเพิ่มจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2518 1 ที่นั่ง แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 2 และ 3)[1][2]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองบุรีรัมย์, อำเภอพุทไธสง, อำเภอสตึก และอำเภอคูเมือง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดบุรีรัมย์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจสังคม บัญชา วัฒนวงศ์วิสุทธิ์ (10) 42,266[3]
ประชาธิปัตย์ ดนัย นพสุวรรณวงศ์ (14) 29,877[3]
ชาติไทย อนุวรรตน์ วัฒนพงศ์ศิริ (4) 22,529[3]
พลังใหม่ บุญเกิด พิมพ์วรเมธากุล (1)
พลังใหม่ ทราย จันทร์สม (2)
พลังใหม่ ประกอบ ศิลากุล (3)
ชาติไทย สมาน มณีราชกิจ (5)*
ไท (พ.ศ. 2517) มณเฑียร คดีเวียง (6)
ธรรมสังคม จำลอง วงษ์ทอง (7)*
ธรรมสังคม เสรี อิศรางกูร ณ อยุธยา (8)✔
ธรรมสังคม มีชัย ภูวสานนท์ (9)
กิจสังคม จำรูญ มณีวรรณ (11)
กรุงสยาม เทวิน สายเพชสันติ (12)
แนวร่วมประชาธิปไตย อำนาจ ทรัพย์ประเสริฐ (13)
ประชาธิปัตย์ พิลึก แสงใส (15)
ประชาธิปัตย์ ณรงค์ ปั้นงาม (16)
เกษตรสังคม จุล วงศ์สวาสดิ์ (17)
กรุงสยาม ทอง ชาไธสง (18)
สยามใหม่ (พ.ศ. 2518) คำพันธ์ สุขไธสง (19)
แรงงาน (ประเทศไทย) ประสงค์ จินมะเริง (20)
ธรรมาธิปไตย บุญยืน ณรงค์ชัย (21)
ธรรมาธิปไตย บุญคง วรรณวิจิตร (22)
ธรรมาธิปไตย ทองพูน จะเชิญรัมย์ (23)
พลังประชาชน (พ.ศ. 2517) ชัย ชิดชอบ (24)✔
แนวร่วมสังคมนิยม สุรัตน์ มีภักดี (25)
สังคมนิยมแห่งประเทศไทย ลือเกียรติ กิวรัมย์ (26)
สยามใหม่ (พ.ศ. 2518) บุญช่วย กรอบไธสง (27)
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก สังคมนิยมแห่งประเทศไทย
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ธรรมสังคม
ชาติไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอลำปลายมาศ, อำเภอนางรอง และกิ่งอำเภอหนองกี่

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดบุรีรัมย์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทย สุนัย พงศ์อารยะ (2) 24,961[3]
ชาติไทย สมโภชน์ ศิริกุล (1) 16,052[3]
ธรรมสังคม บุญเยี่ยม โสภณ (3)*
ธรรมสังคม แถม วงศ์อำมาตย์ (4)✔
เกษตรสังคม วุฒินันท์ หลอดทอง (5)
พลังใหม่ ชัยณรงค์ ทองอยู่ (6)
พลังใหม่ มุณี อุไรรัมย์ (7)
พลังประชาชน (พ.ศ. 2517) สง่า พูนทรัพย์ (8)
สังคมชาตินิยม อุดม วีระโชติ (9)
ประชาธิปัตย์ โสภณ เพชรสว่าง (10)
ประชาธิปัตย์ วัชรินทร์ ฉันทะกุล (11)
แนวร่วมสังคมนิยม ยรรยง สนั่นรัมย์ (12)
กิจสังคม ปกรณ์ กุลกำจร (13)*
แนวร่วมประชาธิปไตย หิน วงศ์จอม (14)
สยามใหม่ (พ.ศ. 2518) สุคนธ์ แก้วกล้า (15)
สยามใหม่ (พ.ศ. 2518) ณัติ แสงแก้ว (16)
ไท (พ.ศ. 2517) ปราชญ์ สุดสายเนตร (17)
ไท (พ.ศ. 2517) ธวัช ศรีวรรัตน์ (18)
สังคมชาตินิยม ปิยพันธ์ กิติพันธุ์ (19)
พลังประชาชน (พ.ศ. 2517) สม แก้วเสมา (20)
พิทักษ์ไทย วิวัฒน์ชัย เพชรหงษ์ (21)
พิทักษ์ไทย ประเสริฐศักดิ์ เสมียนรัมย์ (22)
กิจสังคม มณฑา จริยวรกุล (23)
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก ธรรมสังคม
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก ไท (พ.ศ. 2517)

เขตเลือกตั้งที่ 3

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอกระสัง, อำเภอละหานทราย, อำเภอบ้านกรวด และอำเภอประโคนชัย

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดบุรีรัมย์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทย ไพโรจน์ ติยะวานิช (5) 28,929[3]
เกษตรสังคม ทองเจือ กัลพุมานุกูลกิจ (1)✔ 21,811[3]
แนวร่วมประชาธิปไตย ชาญศักดิ์ อ้นอาจ (2)
แนวร่วมประชาธิปไตย วิจารณ์ สื่อประสาน (3)
ธรรมสังคม จรูญ ปราบริปูตลุง (4)*
ชาติไทย อรุณ เรืองจินดาวลัย (6)
พลังใหม่ ธีระ ยุทธกิจชำนาญ (7)
พลังใหม่ เหรียญ ปราบริปูตลุง (8)
ธรรมสังคม บุรินทร์ ดวงจิตร (9)
แนวร่วมสังคมนิยม นพดล พลสงคราม (10)
กรุงสยาม จุ้ย สว่างสุข (11)
สังคมชาตินิยม สวัสดิ์ สมบัติ (12)
สังคมชาตินิยม วีระชัย หาประโคน (13)
กิจสังคม ประพิณ จิตรไชยวัฒน์ (14)
ไทยรวมไทย วาสนา พงษ์ไพศาล (15)
ไทยรวมไทย ประธาน เทวรัตน์ (16)
ฟื้นฟูชาติไทย บุญส่ง ช่างหล่อ (17)
ฟื้นฟูชาติไทย ทองดำ สีงาม (18)
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก ธรรมสังคม
เกษตรสังคม ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ๔ เมษายน ๒๕๑๙ (วิจัย ๑). กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2519
  2. รัฐสภาสาร ปีที่ ๒๔ ฉบับที่ ๓ วันที่ ๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๙
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 3.6 หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ฉบับที่ 6,653 ประจำวันอังคารที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2519