ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดนครศรีธรรมราชในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดนครศรีธรรมราชในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519

← พ.ศ. 2518 4 เมษายน พ.ศ. 2519 พ.ศ. 2522 →

8 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน531,957
ผู้ใช้สิทธิ36.27%
  First party Second party Third party
 
ผู้นำ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช สมคิด ศรีสังคม
พรรค ประชาธิปัตย์ กิจสังคม สังคมนิยมแห่งประเทศไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 5 1 2
ที่นั่งที่ชนะ 8 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น3 ลดลง1 ลดลง2

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
กิจสังคม

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
ประชาธิปัตย์

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช พ.ศ. 2519 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2519 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 8 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2518 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1 และ 2) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 3)[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองนครศรีธรรมราช, อำเภอท่าศาลา, อำเภอสิชล, อำเภอลานสกา, อำเภอขนอม และกิ่งอำเภอพรหมคีรี

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดนครศรีธรรมราช
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ สุรินทร์ มาศดิตถ์ (7)* 51,598
ประชาธิปัตย์ โสภณ วัชรสินธุ์ (8)* 48,018
ประชาธิปัตย์ สัมพันธ์ ทองสมัคร (9)* 45,538
กิจสังคม น้อม อุปรมัย (3)✔ 14,317
กิจสังคม พลตำรวจตรี ขุนพันธรักษ์ราชเดช (1)✔ 14,240
กิจสังคม ณรงค์ นุกูลกิจ (2) 14,021
พลังใหม่ คมสัน พงษ์สุธรรม (10) 10,360
พลังใหม่ สมรส วิชัยดิษฐ์ (12) 3,716
พลังใหม่ ณรงค์ โภชากรณ์ (11) 3,571
ธรรมสังคม กำพล จรุงวาสน์ (13) 2,462
ธรรมสังคม สมบูรณ์ สุพรรณพงศ์ (14) 2,413
สังคมนิยมแห่งประเทศไทย สุจิตรา บริบูรณ์ (5) 2,027
สังคมนิยมแห่งประเทศไทย ไกรสร ต่อเจริญ (6) 1,865
ธรรมาธิปไตย ธรรมรัต โสภณ (15) 1,709
สังคมนิยมแห่งประเทศไทย จงเจริญ ผลศิริ (4) 1,414
ธรรมาธิปไตย อำนวย หนูจ้อย (17) 818
ธรรมาธิปไตย คล้อย เรืองโรจน์ (16) 733
กรุงสยาม ไพฑูรย์ วงศ์พรต (18) 594
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอทุ่งสง, อำเภอร่อนพิบูลย์, อำเภอฉวาง, อำเภอทุ่งใหญ่, กิ่งอำเภอพิปูน และกิ่งอำเภอนาบอน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดนครศรีธรรมราช
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ เพิ่มศักดิ์ จริตงาม (7) 33,075
ประชาธิปัตย์ เกษม เจริญพานิช (8) 31,285
ประชาธิปัตย์ ภักดี กุลบุญ (9) 28,129
กิจสังคม วรศักดิ์ อดิเทพวรพันธุ์ (4) 18,982
กิจสังคม ร้อยตำรวจโท ระบิล นานากุล (1)* 17,888
กิจสังคม มุกดา นานากุล (2) 13,448
สังคมนิยมแห่งประเทศไทย ชำนิ ศักดิเศรษฐ์ (4)* 5,982
สังคมนิยมแห่งประเทศไทย อาคม สุวรรณนพ (6)* 5,679
สังคมนิยมแห่งประเทศไทย สุชา จุลเพชร (5) 5,428
ชาติไทย สวิง นนทผล (10) 2,291
พลังใหม่ สว่าง ชูขันธ์ (16) 2,078
แนวร่วมสังคมนิยม สิบโท สมพงษ์ วังบุญคง (11) 1,798
พลังประชาชน (พ.ศ. 2517) สมมุ่ง วิสุทธิธรรม (13) 1,686
พลังประชาชน (พ.ศ. 2517) นิพนธ์ เพชรประพันธ์ (14) 1,648
พลังใหม่ บุญจันทร์ จันทร์เมือง (17) 1,643
พลังประชาชน (พ.ศ. 2517) ยอง เพชรช่วย (15) 1,250
ชาตินิยม พรหม ชูสุธน (12) 838
พลังสยาม ชื่น ศรีระษา (21) 828
สยามใหม่ (พ.ศ. 2518) ภิญโญ สุทธิภัทรธรรม (20) 682
สยามใหม่ (พ.ศ. 2518) สมพงษ์ พรหมหาญ (19) 497
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก สังคมนิยมแห่งประเทศไทย
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก สังคมนิยมแห่งประเทศไทย

เขตเลือกตั้งที่ 3

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอปากพนัง, อำเภอหัวไทร, อำเภอเชียรใหญ่ และอำเภอชะอวด

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดนครศรีธรรมราช
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ณรงค์ นุ่นทอง (7) 19,612
ประชาธิปัตย์ ธงชาติ รัตนวิชา (8) 18,232
พลังใหม่ สมนึก เกตุชาติ (11) 8,051
กิจสังคม เกษม จันทวิโรจน์ (1) 7,671
ชาติไทย ปลอบ หนูยิ้มซ้าย (10) 6,559
พลังใหม่ อรุณ ประดิษฐ์ (12) 5,151
สังคมนิยมแห่งประเทศไทย ผ่อง มีซ้าย (4) 3,464
แนวร่วมประชาธิปไตย สด นุ่มนาม (6) 3,459
ชาติไทย เกียรติศักดิ์ โสภณ (9) 2,685
สังคมนิยมแห่งประเทศไทย ปัญญา พรหมณะ (5) 2,507
พิทักษ์ไทย ปรีดา พนังวิเชียร (3) 2,430
กิจสังคม เรวัต มานะจิตร (2) 2,010
ธรรมสังคม มานิตย์ ยะวิเชียร (15) 1,797
สันติชน จำเนียร จอกทอง (18) 1,259
แนวร่วมสังคมนิยม สุธา ธรรมชาติ (14) 1,252
แนวร่วมสังคมนิยม ปรีชา อยู่ดวง (13) 969
สยามใหม่ (พ.ศ. 2518) ประจวบ มณีรัตน์ (17) 856
ธรรมาธิปไตย นิมนต์ วิทิโตปถัมป์ (19) 756
ธรรมสังคม วัชรินทร์ วัฒนสุนทร (16) 701
ชาตินิยม ทวี ไชยคง (21) 490
กรุงสยาม บรรยเวกสก์ แก้วประสพ (20) 426
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ๔ เมษายน ๒๕๑๙ (วิจัย ๑). กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2519