ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดนครราชสีมาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดนครราชสีมาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539

← พ.ศ. 2538 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 พ.ศ. 2544 →

16 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ62.31%
  First party Second party Third party
 
chatichai Choonhavan 1976.jpg
Chuan Leekpai 2010-04-01.jpg
Banharn Silpa-archa (cropped).jpg
ผู้นำ ชาติชาย ชุณหะวัณ ชวน หลีกภัย บรรหาร ศิลปอาชา
พรรค ชาติพัฒนา ประชาธิปัตย์ ชาติไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 11 1 2
ที่นั่งที่ชนะ 12 2 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น 1 เพิ่มขึ้น 1 ลดลง 1

  Fourth party Fifth party
 
Carlos Menem with Chavalit Yongchaiyudh (cropped).jpg
Amnuay Viravan.jpg
ผู้นำ ชวลิต ยงใจยุทธ อำนวย วีรวรรณ
พรรค ความหวังใหม่ นำไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 0 2
ที่นั่งที่ชนะ 1 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น 1 ลดลง 2

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

บรรหาร ศิลปอาชา
ชาติไทย

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ชวลิต ยงใจยุทธ
ความหวังใหม่

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา พ.ศ. 2539 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 6 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 16 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2538 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1, 2, 3 และ 4) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 5 และ 6)[1]

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4เขต 5เขต 6

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองนครราชสีมา และอำเภอสูงเนิน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดนครราชสีมา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติพัฒนา พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ (1)* 167,118 95.32
ชาติพัฒนา สุวัจน์ ลิปตพัลลภ (2)* 166,646 95.05
ชาติพัฒนา ประวิช รัตนเพียร (3)✔ 141,341 80.62
ความหวังใหม่ ชาติชาย กมลวัทน์ (19) 26,481 15.10
ความหวังใหม่ วชิราภรณ์ ถาลี (21) 1,354 0.77
ความหวังใหม่ พิชัย ยอดเยี่ยม (20) 1,200 0.68
เอกภาพ เฉลิมยศ อินทร์หมื่นไวย (9) 997 0.57
แรงงานไทย ร้อยโท เต็มศักดิ์ ช่างหล่อ (16) 940 0.54
ชาติไทย คึกฤทธิ์ บุญญฤทธิ์ (4) 858 0.49
แรงงานไทย สุทิศา นวลมณี (18) 783 0.45
ชาติไทย ชุมพร อาจจะบก (5) 618 0.35
แรงงานไทย กันงา ช่างหล่อ (17) 515 0.29
มวลชน สายพิน กั้นในกลาง (12) 474 0.27
มวลชน กิติยา วิชยศาสตร์ (11) 460 0.26
ชาติไทย ศิริ โกกะพันธุ์ (6) 408 0.23
ไท (พ.ศ. 2539) ฉัตรฤดี อิสระณวัตร์ (15) 353 0.20
มวลชน มาลี เกตุแก้ว (10) 329 0.19
เอกภาพ สมชาย บูรณสถิตวงศ์ (7) 313 0.18
ไท (พ.ศ. 2539) สุภาพร การสำโรง (14) 293 0.17
ไท (พ.ศ. 2539) ประเสริฐ สุวรรณสุข (13) 228 0.13
เอกภาพ เจต นิตย์ใหม่ (8) 219 0.13
บัตรดี 175,327 95.52
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 4,830 2.63
บัตรเสีย 3,391 1.85
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 183,548 57.85
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 317,299 100.00
ชาติพัฒนา รักษาที่นั่ง
ชาติพัฒนา รักษาที่นั่ง
ชาติพัฒนา รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอห้วยแถลง, อำเภอจักราช, อำเภอโชคชัย, อำเภอหนองบุนนาก, อำเภอครบุรี และอำเภอเสิงสาง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดนครราชสีมา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติพัฒนา พลตำรวจตรี วุฒิ สุโกศล (4)* 118,950 63.12
ชาติพัฒนา กฤษฎาง แถวโสภา (6)✔ 113,893 60.44
ชาติพัฒนา สกุล ศรีพรหม (5)* 110,598 58.69
ความหวังใหม่ ว่าที่ร้อยตรี ไพโรจน์ สุวรรณฉวี (9)* 108,078 57.35
ประชาธิปัตย์ สุภรณ์ อัตถาวงศ์ (1) 20,758 11.02
ประชาธิปัตย์ ประกอบ ศักดิ์กระโทก (3) 5,313 2.82
ประชาธิปัตย์ ภาสกร กายสำโรง (2) 4,529 2.40
ความหวังใหม่ ฐาปกรณ์ ดิษฐ์เย็น (8) 7,574 3.43
ความหวังใหม่ สมศักดิ์ ตรงกิ่งตอน (7) 2,763 1.47
เอกภาพ ยิ่งลักษณ์ ดอกพงษ์กลาง (10) 2,134 1.13
เอกภาพ สุนทรา เครือสิงห์ (11) 1,142 0.61
เสรีธรรม พันธิภา รายณะสุข (21) 520 0.28
ไท (พ.ศ. 2539) สมบัติ เพ็ชรดี (16) 473 0.25
เอกภาพ ราชศักดิ์ ชัยศรี (12) 444 0.24
เสรีธรรม สมชาย พิทักษ์ผล (19) 435 0.23
มวลชน สมศักดิ์ ฟูเฟื่อง (14) 400 0.21
แรงงานไทย พยุง พินจอหอ (22) 400 0.21
แรงงานไทย รวมพล กิจวัฒนชัย (24) 366 0.19
มวลชน ทวีทรัพย์ สุขตระกูล (15) 348 0.18
แรงงานไทย สมนึก คีมทองหลาง (23) 327 0.17
เสรีธรรม คมกฤช ศรีเมือง (20) 324 0.17
ไท (พ.ศ. 2539) จิตราวรรณ จิตระวัง (17) 321 0.17
มวลชน สดชื่น วุฒา (13) 249 0.13
ไท (พ.ศ. 2539) สมควร ไชยจังหรีด (18) 224 0.12
บัตรดี 188,449 96.11
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,577 0.81
บัตรเสีย 5,837 2.98
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 195,863 67.98
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 288,105 100.00
ชาติพัฒนา รักษาที่นั่ง
ชาติพัฒนา ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย
ชาติพัฒนา ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย

เขตเลือกตั้งที่ 3[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอประทาย, อำเภอชุมพวง, อำเภอพิมาย, อำเภอโนนสูง, กิ่งอำเภอเมืองยาง และกิ่งอำเภอลำทะเมนชัย

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดนครราชสีมา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทย วิรัช รัตนเศรษฐ (4)✔ 130,423 68.99
ชาติพัฒนา กร ทัพพะรังสี (1)* 118,220 62.54
ชาติพัฒนา ประชาธิปไตย คำสิงห์นอก (3)* 88,886 47.02
ชาติพัฒนา ลำพอง พิลาสมบัติ (2)* 81,302 43.01
ชาติไทย สมจิตร พิศนอก (5) 2,249 1.19
ชาติไทย ณัฐพงษ์ เปล่งรัศมี (6) 1,249 0.66
เอกภาพ ปวีณา ก้อนคำ (7) 388 0.21
มวลชน จันทร์ เอิบผักแว่น (10) 326 0.17
เอกภาพ เอกสิทธิ์ บ้งชมโพธิ์ (9) 318 0.17
เอกภาพ สมบัติ หมายเหนี่ยวกลาง (8) 302 0.16
แรงงานไทย อุไรวรรณ เทียมทองหลาง (21) 287 0.15
เสรีธรรม นนท์สรวง ชนะภักดิ์ (14) 222 0.12
มวลชน สำเนา ลาภกระโทก (11) 217 0.11
มวลชน วี ชุ่มกระโทก (12) 214 0.11
เสรีธรรม พยอม อัมพวานนท์ (15) 214 0.11
ไท (พ.ศ. 2539) สุกัญญา บานแย้ม (16) 200 0.11
แรงงานไทย กล่อม กอหญ้ากลาง (19) 178 0.09
ไท (พ.ศ. 2539) ศุภาพร คิมรัมย์ (17) 164 0.09
ไท (พ.ศ. 2539) นเรศน์ อิสระณวัตร์ (18) 164 0.09
แรงงานไทย พลอย ตอทองหลาง (20) 156 0.08
เสรีธรรม ลิ้นจี่ พลเจริญ (13) 132 0.07
บัตรดี 166,121 97.01
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,437 0.84
บัตรเสีย 4,229 2.46
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 171,787 59.52
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 288,629 100.00
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก ชาติพัฒนา
ชาติพัฒนา รักษาที่นั่ง
ชาติพัฒนา รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 4[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 4 ประกอบด้วยอำเภอแก้งสนามนาง, อำเภอบ้านเหลื่อม, อำเภอบัวใหญ่, อำเภอคง, อำเภอขามสะแกแสง, อำเภอโนนไทย, อำเภอโนนแดง และกิ่งอำเภอพระทองคำ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 4 จังหวัดนครราชสีมา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ความหวังใหม่ สุขุม เลาวัณย์ศิริ (10)* 89,727 54.01
ชาติพัฒนา ประทีป กรีฑาเวช (1)✔ 84,196 50.68
ประชาธิปัตย์ นิพนธ์ พร้อมพันธุ์ (4)* 80,972 48.74
ประชาธิปัตย์ กอร์ปศักดิ์ สภาวสุ (5)* 70,691 42.55
ชาติพัฒนา ประจัญ กล้าผจญ (2) 65,688 39.54
ชาติพัฒนา กิตติยง ศรีพูนทอง (3) 40,444 24.35
ชาติไทย ตรีเพชร พรหมนิติพันธุ์ (7)✔ 8,390 5.05
ความหวังใหม่ บัวหลัน กุลนอก (11) 2,765 1.66
ประชาธิปัตย์ สัมพันธ์ โปร่งสันเทียะ (6) 1,456 0.88
ชาติไทย กัญญา ปรีชายุทธ (9) 941 0.57
ความหวังใหม่ คำมูล หาญนอก (12) 909 0.55
ประชากรไทย ธำรงศักดิ์ ไสยะราม (20) 845 0.51
ชาติไทย วิยะดา เอกนาม (8) 705 0.42
แรงงานไทย วีระ วงศ์อินจันทร์ (29) 561 0.34
แรงงานไทย จรูญ สมน้อย (30) 547 0.33
เอกภาพ พรรณี มงคล (15) 326 0.20
เอกภาพ ศศิธร ชูเดช (14) 285 0.17
ประชากรไทย ดวงฤทัย คำพิลา (21) 285 0.17
เอกภาพ สุภาภร พันธ์ชัย (13) 280 0.17
ประชากรไทย สุนันท์ จิตรพิทักษ์เลิศ (19) 254 0.15
ไท (พ.ศ. 2539) อมรรัตน์ ศรรักษ์ (24) 206 0.12
มวลชน วันเพ็ญ สอาดปรุ (17) 199 0.12
มวลชน ประเสริฐ โอกระโทก (16) 198 0.12
มวลชน ประเทือง เพียครบุรี (18) 186 0.11
แรงงานไทย ไสว นามไพร (28) 186 0.11
เสรีธรรม ธราดร เกี้ยวสันเทียะ (25) 184 0.11
เสรีธรรม เกียรติณรงค์ สกุลวงศ์สาลี (26) 153 0.09
ไท (พ.ศ. 2539) ฉันทนา สิงห์ศรี (23) 148 0.09
ไท (พ.ศ. 2539) ประสิทธิ์ เปตะคุ (22) 120 0.07
เสรีธรรม วีระ หม่องคะ (27) 117 0.07
บัตรดี 166,121 97.01
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,437 0.84
บัตรเสีย 4,229 2.46
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 171,787 59.52
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 288,629 100.00
ความหวังใหม่ ได้ที่นั่งจาก นำไทย
ชาติพัฒนา รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 5[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 5 ประกอบด้วยอำเภอด่านขุนทด, อำเภอสีคิ้ว, อำเภอขามทะเลสอ และกิ่งอำเภอพระทองคำ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 5 จังหวัดนครราชสีมา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติพัฒนา จำลอง ครุฑขุนทด (3)* 75,315 61.86
ชาติพัฒนา รักษ์ ด่านกุล (4)* 67,358 55.32
ความหวังใหม่ ประเสริฐ จันทรรวงทอง (1) 49,179 40.40
ชาติไทย พันตรี เทอดฤทธิ์ บุญญฤทธิ์ (7)✔ 33,024 27.13
ความหวังใหม่ อมรวิวัฒน์ บิขุนทด (2) 2,296 1.89
เสรีธรรม วินยา มกรพงศ์ (5) 1,098 0.90
ชาติไทย รณชัย แสวงสุข (8) 976 0.80
เสรีธรรม สมพงษ์ อินทรพันธ์ (6) 700 0.57
ประชากรไทย สมาน เจริญสูงเนิน (11) 428 0.35
เอกภาพ ฐิติญา พงษ์สุวรรณ (9) 385 0.31
เอกภาพ อยุทธยา อินทร์หมื่นไวย (10) 199 0.16
แรงงานไทย บุญเลี้ยง ยุทธอาจ (17) 123 0.10
เสรีประชาธิปไตย สุกัลยา สุพรรณเภสัช (20) 112 0.09
ประชากรไทย จิตร ดานขุนทด (12) 93 0.08
มวลชน สมจิตต์ ทองน้อย (13) 93 0.08
แรงงานไทย นิเวศ ปลิวไธสง (18) 93 0.08
มวลชน เงิน พิมพ์กิ่ง (14) 84 0.07
เสรีประชาธิปไตย เด็ดดวง สุพรรณเภสัช (19) 74 0.06
ไท (พ.ศ. 2539) นิติพรรณ ทั่งทองมะดัน (16) 53 0.04
ไท (พ.ศ. 2539) นันทิยา ลี้ชัยสิน (15) 46 0.04
บัตรดี 121,744 96.56
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 978 0.78
บัตรเสีย 3,354 2.66
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 126,076 66.27
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 190,247 100.00
ชาติพัฒนา รักษาที่นั่ง
ชาติพัฒนา รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 6[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 6 ประกอบด้วยอำเภอปากช่อง, อำเภอปักธงชัย และกิ่งอำเภอวังน้ำเขียว

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 6 จังหวัดนครราชสีมา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติพัฒนา สมศักดิ์ พันธ์เกษม (5)* 69,298 55.04
ประชาธิปัตย์ พันตำรวจโท สมชาย เพศประเสริฐ (3)* 58,236 46.25
ความหวังใหม่ ยุทธศิลป์ ฐาปนะกุล (1)✔ 45,962 36.50
ความหวังใหม่ ไชยยศ กองทอง (2) 36,100 28.67
ประชาธิปัตย์ วีรา ชัยฤทธิไชย (4) 7,911 6.28
ชาติพัฒนา ธีรพงศ์ อุปสาร (6) 2,964 2.35
ประชากรไทย สำรวย เจตนาดี (7) 1,144 0.91
ประชากรไทย ชาญชัย เจตนาดี (8) 173 0.14
เสรีประชาธิปไตย ประเสริฐ หล่าจันทึก (20) 150 0.12
แรงงานไทย คนอง ทองใบ (18) 111 0.09
แรงงานไทย บุญเลี้ยง ยุทธอาจ (17) 98 0.08
เอกภาพ สมใจ ลี้ชัยสิน (9) 93 0.07
มวลชน ถนอม ประชากลาง (12) 61 0.05
เสรีประชาธิปไตย เสวตร ไฝจันทึก (19) 56 0.04
เอกภาพ สมพร บูรณสถิตวงศ์ (10) 53 0.04
ไท (พ.ศ. 2539) ปิยะ ปัตถามัง (14) 48 0.04
เสรีธรรม เจนณรงค์ ถาวรพงษ์ (15) 48 0.04
มวลชน สมชัย เกษนอก (11) 44 0.03
ไท (พ.ศ. 2539) สุเทพ ส่วนบุญ (13) 44 0.03
เสรีธรรม เรืองพร พลเจริญ (16) 30 0.02
บัตรดี 125,914 96.13
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,323 1.01
บัตรเสีย 3,740 2.86
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 130,977 62.24
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 210,449 100.00
ชาติพัฒนา รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก นำไทย

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. ผลการเลือกตั้ง เก็บถาวร 2001-06-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีนเว็บไซต์กรมการปกครอง