ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดกาฬสินธุ์ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดกาฬสินธุ์ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539

← พ.ศ. 2538 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 พ.ศ. 2544 →

6 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน618,524
ผู้ใช้สิทธิ64.24%
  First party Second party Third party
 
Chavalit Yongchaiyudh.jpg
Chatichai Choonhavan.jpg
Banharn Silpa-archa (cropped).jpg
ผู้นำ ชวลิต ยงใจยุทธ ชาติชาย ชุณหะวัณ บรรหาร ศิลปอาชา
พรรค ความหวังใหม่ ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) ชาติไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 4 1 1
ที่นั่งที่ชนะ 6 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น2 ลดลง1 ลดลง1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

บรรหาร ศิลปอาชา
ชาติไทย

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ชวลิต ยงใจยุทธ
ความหวังใหม่

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาฬสินธุ์ พ.ศ. 2539 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 6 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2538 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองกาฬสินธุ์, อำเภอสมเด็จ, อำเภอกุฉินารายณ์, อำเภอเขาวง, อำเภอนามน, อำเภอห้วยผึ้ง, กิ่งอำเภอนาคู และกิ่งอำเภอดอนจาน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดกาฬสินธุ์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ความหวังใหม่ ชิงชัย มงคลธรรม (8)* 126,335 71.28
ความหวังใหม่ สังข์ทอง ศรีธเรศ (7)* 108,655 61.30
ความหวังใหม่ พิชัย มงคลวิรกุล (9)* 107,718 60.77
ประชาธิปัตย์ วิวัฒนไชย ณ กาฬสินธุ์ (4)✔ 77,204 43.56
ประชาธิปัตย์ พาที แดนวงศ์ (6) 25,044 14.13
ประชาธิปัตย์ ร้อยตำรวจเอก กิติพนธ์ กุลศิริ (5) 13,142 7.41
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) คนคม คนซื่อ (10) 5,979 3.37
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) อุดม บาลเพชร (11) 1,498 0.84
พลังธรรม ชาติชาย วิโรจน์รัตน์ (1) 1,412 0.79
พลังธรรม เริงศักดิ์ บุญแนน (3) 1,264 0.71
พลังธรรม ฉัตรชัย พานิชดี (2) 1,025 0.57
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) ชราวุฒิ บุญแนน (12) 823 0.46
ประชากรไทย กมลพันธุ์ จีระสมบัติ (14) 410 0.23
ประชากรไทย วิชชุกร สงวนชาติ (15) 384 0.21
ประชากรไทย ชาติชาย อินทรตุล (13) 279 0.15
บัตรดี 177,229 97.17
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,436 0.79
บัตรเสีย 3,718 2.04
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 182,383 62.14
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 293,500 100.00
ความหวังใหม่ รักษาที่นั่ง
ความหวังใหม่ รักษาที่นั่ง
ความหวังใหม่ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอกมลาไสย, อำเภอยางตลาด, อำเภอท่าคันโท, อำเภอสหัสขันธ์, อำเภอห้วยเม็ก, อำเภอคำม่วง, อำเภอหนองกุงศรี, อำเภอร่องคำ และกิ่งอำเภอสามชัย

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดกาฬสินธุ์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ความหวังใหม่ บวร ภูจริต (8)✔ 135,965 64.74
ความหวังใหม่ เงิน ไชยศิวามงคล (7)* 124,501 59.28
ความหวังใหม่ วิทยา ภูมิเหล่าแจ้ง (9)* 122,965 58.55
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) อรดี สุทธศรี (1)* 78,375 37.32
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) จำลอง ภูนวนทา (2) 38,424 18.29
ประชาธิปัตย์ วิบูลย์ แช่มชื่น (5) 23,567 11.22
ประชาธิปัตย์ เยาวลักษณ์ สุภัควนิช (6) 17,538 8.35
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) บัญฑิต บุญแสน (3) 15,395 7.33
ประชาธิปัตย์ เสาวลักษณ์ อุเทศ (4) 13,151 6.26
เอกภาพ สุวรรณ แดงงาม (10) 775 0.36
เอกภาพ นิฤมล ไชยจำนงค์ (12) 431 0.20
เอกภาพ วิไลวรรณ ภูผิวเดือน (11) 373 0.17
บัตรดี 209,995 97.69
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 770 0.36
บัตรเสีย 4,191 1.95
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 214,956 66.14
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 325,024 100.00
ความหวังใหม่ ได้ที่นั่งจาก ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
ความหวังใหม่ ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย
ความหวังใหม่ รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "จากเว็บไซต์รายงานผลการเลือกตั้งกรมการปกครอง". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2001-06-28. สืบค้นเมื่อ 2025-02-15.