ข้ามไปเนื้อหา

จักรวรรดิอาณานิคมเยอรมัน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จักรวรรดิอาณานิคมเยอรมัน

Deutsches Kolonialreich
1884–1920
ธงชาติเยอรมัน
ธงชาติ
อาณานิคมของเยอรมันและรัฐในอารักขาในปี 1914
อาณานิคมของเยอรมันและรัฐในอารักขาในปี 1914
สถานะจักรวรรดิอาณานิคม
เมืองหลวง
และเมืองใหญ่สุด
เบอร์ลิน
Hohenzollern
ประวัติศาสตร์ 
• ก่อตั้ง
1884
1904
28 June 1919
• สิ้นสุด
1920
รหัส ISO 3166DE
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ

จักรวรรดิอาณานิคมเยอรมัน (อังกฤษ: German colonial empire) เป็นดินแดนโพ้นทะเลของจักรวรรดินิยมเยอรมัน ซึ่งเยอรมันมีความพยายามในการสร้างอาณานิคมที่เริ่มมาตั้งแต่ก่อนหน้านั้โดยนครรัฐต่างๆ ในเยอรมนีไม่ประสบความสำเร็จเท่าใดนัก

เยอรมันมีอาณานิคมโพ้นทะเลอยู่ในทวีปแอฟริกา, เอเชีย และโอเชียเนีย

อาณานิคม

[แก้]
ดินแดน ระยะเวลา พื้นที่ (circa) ประเทศปัจจุบัน
แอฟริกาตะวันตกของเยอรมนี 1896–1918 582,200 km²[1] ธงของประเทศแคเมอรูน แคเมอรูน
ธงของประเทศไนจีเรีย ไนจีเรีย
ธงของประเทศชาด ชาด
ธงของประเทศกินี กินี
ธงของสาธารณรัฐแอฟริกากลาง สาธารณรัฐแอฟริกากลาง
ธงของประเทศกานา กานา
ธงของประเทศโตโก โตโก
แอฟริกาตะวันตกเฉียงใต้ของเยอรมนี 1884–1918 835,100 km²[1] ธงของประเทศนามิเบีย นามิเบีย
นิวกินีของเยอรมนี 1884–1918 247,281 km²[2][3][4] ธงของประเทศปาปัวนิวกินี ปาปัวนิวกินี
ธงของหมู่เกาะโซโลมอน หมู่เกาะโซโลมอน
ธงของประเทศปาเลา ปาเลา
ธงของประเทศไมโครนีเชีย ไมโครนีเชีย
ธงของประเทศนาอูรู นาอูรู
ธงของหมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา
ธงของหมู่เกาะมาร์แชลล์ หมู่เกาะมาร์แชลล์
ธงของประเทศซามัว ซามัว
แอฟริกาตะวันออกของเยอรมนี 1891–1918 995,000 km²[1] ธงของประเทศบุรุนดี บุรุนดี
ธงของประเทศเคนยา เคนยา
ธงของประเทศโมซัมบิก โมซัมบิก
ธงของประเทศรวันดา รวันดา
ธงของประเทศแทนซาเนีย แทนซาเนีย
ธงของประเทศยูกันดา ยูกันดา
ทั้งหมด 2,659,581 km²

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 "Statistische Angaben zu den deutschen Kolonien". www.dhm.de (ภาษาเยอรมัน). Deutsches Historisches Museum. สืบค้นเมื่อ 29 September 2016. Sofern nicht anders vermerkt, beziehen sich alle Angaben auf das Jahr 1912.
  2. Firth, Stewart (1983). New Guinea Under the Germans. Carlton, Australia: Melbourne University Press. ISBN 0-522-84220-8.
  3. "Rank Order – Area". CIA World Fact Book. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-02-09. สืบค้นเมื่อ 12 April 2008.
  4. "The Pacific War Online Encyclopedia". สืบค้นเมื่อ 22 September 2016.

ดูเพิ่ม

[แก้]