ข้ามไปเนื้อหา

การหาปริพันธ์โดยใช้สูตรลดทอน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ในแคลคูลัสเชิงปริพันธ์ การหาปริพันธ์โดยใช้สูตรลดทอน เป็นวิธีการที่ใช้ความสัมพันธ์เวียนเกิด ใช้เมื่อนิพจน์ที่มีตัวแปรเสริมเป็นจำนวนเต็ม ซึ่งโดยปกติอยู่ในรูปของเลขยกกำลังของฟังก์ชันเบื้องต้น หรือผลคูณของฟังก์ชันอดิศัย และพหุนามที่มีดีกรีใด ๆ ไม่สามารถหาปริพันธ์โดยตรงได้ แต่การใช้วิธีการหาปริพันธ์อื่น ๆ สามารถกำหนดสูตรลดทอนเพื่อให้ได้ปริพันธ์ของนิพจน์เดียวกันหรือคล้ายกันที่มีตัวแปรจำนวนเต็มเสริมที่ต่ำลง โดยจะลดความซับซ้อนของปริพันธ์ลงทีละน้อยจนกระทั่งสามารถหาค่าได้ [1] วิธีหาปริพันธ์นี้เป็นหนึ่งในวิธีแรก ๆ ที่ใช้กัน

วิธีการหาสูตรลดทอน

[แก้]

สูตรลดทอนสามารถหาได้โดยใช้วิธีการหาปริพันธ์ทั่วไป เช่นการหาปริพันธ์โดยการแทนค่า การหาปริพันธ์โดยการแยกส่วน การหาปริพันธ์โดยการแทนค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติ การหาปริพันธ์โดยการหาเศษส่วนย่อย ฯลฯ แนวคิดหลักคือให้ปริพันธ์ที่มีตัวแปรเสริมจำนวนเต็ม (เช่น เลขยกกำลัง) ของฟังก์ชันเป็น In ปริพันธ์ที่มีกับค่าตัวแปรเสริมที่ต่ำลง (เลขยกกำลังต่ำกว่า) ของฟังก์ชันนั้นให้เป็น เช่น In -1 หรือ In -2 ซึ่งทำให้สูตรลดทอนเป็นประเภทหนึ่งของความสัมพันธ์เวียนเกิด กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ สูตรลดทอนจะทำให้ปริพันธ์

อยู่ในรูปของ

เมื่อ

วิธีการคำนวณหาปริพันธ์

[แก้]

ในการคำนวณหาปริพันธ์ เราให้ n เป็นค่าของตัวแปรเสริม และใช้สูตรลดทอนเพื่อแสดงอยู่ในรูปของปริพันธ์ของ (n – 1) หรือ (n – 2) ปริพันธ์ที่มีเลขยกกำลังต่ำกว่าสามารถนำมาใช้คำนวณปริพันธ์เลขยกกำลังสูงกว่าได้ โดยกระบวนการนี้ทำต่อไปซ้ำ ๆ จนกว่าจะถึงจุดที่สามารถหาปริพันธ์ฟังก์ชันได้ โดยปกติเมื่อเลขยกกำลังของฟังก์ชันดังกล่าวเป็น 0 หรือ 1 จากนั้นเราทำการแทนค่าผลลัพธ์ก่อนหน้านั้นอีกครั้งจนกระทั่งเราหา In ได้[2]

ตัวอย่าง

[แก้]

ต่อไปนี้เป็นตัวอย่างของวิธีการใช้สูตรลดทอน

ปริพันธ์ของฟังก์ชันโคไซน์

[แก้]

โดยทั่วไปปริพันธ์เช่น

สามารถหาค่าได้โดยการใช้สูตรลดทอน

, สำหรับ n = 1, 2 ... 30

เริ่มต้นโดยการตั้งให้

สามารถเขียนใหม่ได้เป็น

หาปริพันธ์โดยการแทนค่าดังนี้

สามารถหาปริพันธ์โดยการแยกส่วน

ดังนั้นสูตรลดทอนคือ

ตัวอย่างเพิ่มเติมจากตัวอย่างด้านบนสามารถนำมาใช้หาปริพันธ์สมมติให้ n = 5

คำนวนหาปริพันธ์ที่มีเลขดัชนีต่ำกว่า

แทนค่ากลับได้

โดยที่ C เป็นค่าคงที่

ปริพันธ์ของเลขชี้กำลัง

[แก้]

ตัวอย่างทั่วไปอีกอันคือ

เริ่มโดยการตั้งให้

หาปริพันธ์โดยการแทนค่า

สามารถหาปริพันธ์โดยการแยกส่วน

เลื่อนดัชนีกลับไป 1 (n + 1n และ nn – 1)

แก้หา In

ดังนั้นสูตรลดทอนคือ

วิธีทางเลือกอื่นในการหาสูตรลดทอนทำได้โดยเริ่มจากการแทนค่า

หาปริพันธ์โดยการแทนค่า

สามารถหาปริพันธ์โดยการแยกส่วน

ซึ่งให้สูตรลดลดทอนเมื่อแทนค่ากลับ

ซึ่งเท่ากับ

อีกทางเลือกหนึ่งในการหาสูตรลดทอนได้โดยการบูรณาการแบบแยกส่วน

จำไว้ว่า

ซึ่งให้สูตรลดทอนเมื่อแทนค่ากลับ

ซึ่งเท่ากับ

รายการสูตรลดทอนจำนวนเต็ม

[แก้]

ฟังก์ชันตรรกยะ

[แก้]

ปริพันธ์ต่อไปนี้[3] ประกอบด้วย

  • ตัวประกอบของรากเชิงเส้น
  • ตัวประกอบเชิงเส้น และรากเชิงเส้น
  • ตัวประกอบกำลังสอง
  • ตัวประกอบกำลังสอง , สำหรับ
  • ตัวประกอบกำลังสอง , สำหรับ
  • ตัวประกอบกำลังสอง (ลดทอนไม่ได้)
  • รากที่สองของตัวประกอบกำลังสองที่ลดทอนไม่ได้
ปริพันธ์ สูตรลดทอน
ปริพันธ์ สูตรลดขนาด
ปริพันธ์ สูตรลดขนาด
ปริพันธ์ สูตรลดขนาด
ปริพันธ์ สูตรลดขนาด
ปริพันธ์ สูตรลดขนาด
ปริพันธ์ สูตรลดขนาด

ฟังก์ชันอดิศัย

[แก้]

ปริพันธ์ต่อไปนี้[4] ประกอบด้วย

  • ตัวประกอบของไซน์
  • ตัวประกอบของโคไซน์
  • ตัวประกอบของผลคูณและผลหารของไซน์และโคไซน์
  • ผลคูณ/ผลหารของตัวประกอบเลขชี้กำลังและกำลังของ x
  • ผลคูณของตัวประกอบเลขชี้กำลังและไซน์/โคไซน์
ปริพันธ์ สูตรลดทอน

สูตรเหล่านี้สามารถรวมกันให้อยู่ในรูป In

และในรูป Jn

ปริพันธ์ สูตรลดรูป
ปริพันธ์ สูตรลดทอน

อ้างอิง

[แก้]
  1. Mathematical methods for physics and engineering, K.F. Riley, M.P. Hobson, S.J. Bence, Cambridge University Press, 2010, ISBN 978-0-521-86153-3
  2. Further Elementary Analysis, R.I. Porter, G. Bell & Sons Ltd, 1978, ISBN 0-7135-1594-5
  3. http://www.sosmath.com/tables/tables.html -> รายการปริพันธ์ไม่จำกัดเขต
  4. http://www.sosmath.com/tables/tables.html -> รายการปริพันธ์ไม่จำกัดเขต

บรรณานุกรม

[แก้]
  • Anton, Bivens, Davis, Calculus, 7th edition.