ข้ามไปเนื้อหา

ฟุตบอลทีมชาติอุรุกวัย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Uruguay national football team)
อุรุกวัย
Shirt badge/Association crest
ฉายาLa Celeste (The Sky Blue)
Los Charrúas (The Charrúas)
จอมโหด (ฉายาในภาษาไทย)
สมาคมสมาคมฟุตบอลอุรุกวัย
สมาพันธ์CONMEBOL (อเมริกาใต้)
หัวหน้าผู้ฝึกสอนดิเอโก อาลอนโซ
กัปตันดิเอโก โกดิน
ติดทีมชาติสูงสุดดิเอโก โกดิน (161)
ทำประตูสูงสุดลุยส์ ซัวเรซ (68)
สนามเหย้าเอสตาโด เซนเตนารีโอ
รหัสฟีฟ่าURU
อันดับฟีฟ่า
อันดับปัจจุบัน 14 เพิ่มขึ้น 1 (20 มิถุนายน 2024)[1]
อันดับสูงสุด2 (มิถุนายน 2012)
อันดับต่ำสุด76 (ธันวาคม 1998)
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก
ธงชาติอุรุกวัย อุรุกวัย 0–6 อาร์เจนตินา ธงชาติอาร์เจนตินา
(มอนเตวิเดโอ ประเทศอุรุกวัย; 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1902)[note 1]
ชนะสูงสุด
ธงชาติอุรุกวัย อุรุกวัย 9–0 โบลิเวีย ธงชาติโบลิเวีย
(ลิมา ประเทศเปรู; 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 1927)
แพ้สูงสุด
ธงชาติอุรุกวัย อุรุกวัย 0–6 อาร์เจนตินา ธงชาติอาร์เจนตินา
(มอนเตวิเดโอ ประเทศอุรุกวัย; 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1902)
ฟุตบอลโลก
เข้าร่วม14 (ครั้งแรกใน 1930)
ผลงานดีที่สุดชนะเลิศ (1930, 1950)
โกปาอาเมริกา
เข้าร่วม45 (ครั้งแรกใน 1916)
ผลงานดีที่สุดชนะเลิศ (1916, 1917, 1920, 1923, 1924, 1926, 1935, 1942, 1956, 1959, 1967, 1983, 1987, 1995, 2011)
CONMEBOL–UEFA Cup of Champions
เข้าร่วม1 (ครั้งแรกใน 1985)
ผลงานดีที่สุดรองชนะเลิศ (1985)
คอนเฟเดอเรชันส์คัพ
เข้าร่วม2 (ครั้งแรกใน 1997)
ผลงานดีที่สุดอันดับที่ 4 (1997, 2013)
สถิติเหรียญโอลิมปิก
ฟุตบอลชายในโอลิมปิกฤดูร้อน
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1924 Paris Team
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1928 Amsterdam Team

ฟุตบอลทีมชาติอุรุกวัย (สเปน: Selección de fútbol de Uruguay) เป็นตัวแทนทีมฟุตบอลจากประเทศอุรุกวัย อยู่ภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลอุรุกวัย

ทีมชาติอุรุกวัยเคยชนะการแข่งขันฟุตบอลโลก 2 ครั้ง รวมถึงการจัดการแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งแรกใน ฟุตบอลโลก 1930 ที่เป็นประเทศเจ้าภาพ ชนะฟุตบอลทีมชาติอาร์เจนตินาในรอบตัดสิน 4-2 ชนะครั้งที่ 2 ใน ฟุตบอลโลก 1950 ชนะบราซิล ประเทศเจ้าภาพไป 2-1 ทีมชาติอุรุกวัยยังเคยได้เหรียญทองฟุตบอลในโอลิมปิก 2 ครั้งคือ ในปี 1924 และ 1928 ก่อนที่จะมีการจัดฟุตบอลโลก และยังชนะการแข่งขัน Mundialito ที่เป็นการแข่งขันระหว่างอดีตแชมเปียนฟุตบอลโลก จัดขึ้นในปี 1980 ที่อุรุกวัย เพื่อเฉลิมฉลองครบรอบ 50 ปีของฟุตบอลโลก ทีมชาติอุรุกวัยถือเป็นหนึ่งในทีมชาติที่ประสบความสำเร็จที่สุดทีมหนึ่ง ชนะอย่างเป็นทางการกว่า 18 รางวัล รวมถึงชนะฟุตบอลโลก 2 ครั้ง, โอลิมปิก 2 ครั้ง และโกปาอาเมริกา 15 ครั้ง

ประเทศอุรุกวัยเป็นประเทศที่มีประชากรน้อยกว่า 4 ล้านคน ถือเป็นประเทศที่เล็กที่สุดที่ชนะการแข่งขันฟุตบอลโลก (รองลงมาคืออาร์เจนตินา มีประชากรมากกว่า 40 ล้านคน)[6]

ประวัติ

[แก้]

ในสัญลักษณ์ของทีมชาติอุรุกวัย จะมีปรากฏดาวทั้งหมด 4 ดวง ทั้งที่เคยเป็นแชมป์ฟุตบอลโลกเพียง 2 สมัย แต่อีก 2 ดวงนั้นหมายถึงการที่ได้เหรียญทองฟุตบอลชายโอลิมปิกมาก่อนหน้านั้น 2 สมัย คือ โอลิมปิก 1924 และโอลิมปิก 1928 ซึ่งถือได้ว่าเป็นเสมือนแชมป์โลก เพราะเป็นการแข่งขันก่อนที่จะมีฟุตบอลโลกเกิดขึ้น[7]

ผู้เล่น

[แก้]

ผู้เล่นชุดปัจจุบัน

[แก้]

รายชื่อผู้เล่น 26 คนที่ถูกเรียกตัวในการแข่งขัน ฟุตบอลโลก 2022[8]

ข้อมูลการลงเล่นและการทำประตูนับถึงวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 หลังจากการพบกับ โปรตุเกส

0#0 ตำแหน่ง ผู้เล่น วันเกิด (อายุ) ลงเล่น ประตู สโมสร
1 1GK เฟร์นันโด มุสเลรา (1986-06-16) 16 มิถุนายน ค.ศ. 1986 (38 ปี) 133 0 ตุรกี กาลาทาซาไร
12 1GK เซบัสเตียน โซซา (1986-08-19) 19 สิงหาคม ค.ศ. 1986 (38 ปี) 1 0 อาร์เจนตินา อินเดเปนดิเอนเต
23 1GK Sergio Rochet (1993-03-23) 23 มีนาคม ค.ศ. 1993 (31 ปี) 10 0 อุรุกวัย นาซิโอนัล

2 2DF โฆเซ ฆิเมเนซ (1995-01-20) 20 มกราคม ค.ศ. 1995 (29 ปี) 80 8 สเปน อัตเลติโกเดมาดริด
3 2DF ดิเอโก โกดิน (กัปตัน) (1986-02-16) 16 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1986 (38 ปี) 161 8 อาร์เจนตินา เบเลซซาร์สฟิลด์
4 2DF โรนัลด์ อาราอูโฆ (1999-03-07) 7 มีนาคม ค.ศ. 1999 (25 ปี) 12 0 สเปน บาร์เซโลนา
13 2DF กิเยร์โม บาเรลา (1993-03-24) 24 มีนาคม ค.ศ. 1993 (31 ปี) 11 0 บราซิล ฟลาเม็งกู
16 2DF มาติอัส โอลิเบรา (1997-10-31) 31 ตุลาคม ค.ศ. 1997 (27 ปี) 10 0 อิตาลี นาโปลี
17 2DF Matías Viña (1997-11-09) 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1997 (27 ปี) 28 0 อิตาลี โรมา
19 2DF เซบัสเตียน โกอาเตส (1990-10-07) 7 ตุลาคม ค.ศ. 1990 (34 ปี) 48 1 โปรตุเกส สปอร์ติงลิสบอน
22 2DF มาร์ติน กาเซเรส (1987-04-07) 7 เมษายน ค.ศ. 1987 (37 ปี) 116 4 สหรัฐอเมริกา แอลเอ แกลักซี
26 2DF José Luis Rodríguez (1997-03-14) 14 มีนาคม ค.ศ. 1997 (27 ปี) 0 0 อุรุกวัย นาซิโอนัล

5 3MF มาติอัส เบซิโน (1991-08-24) 24 สิงหาคม ค.ศ. 1991 (33 ปี) 64 4 อิตาลี ลัตซีโย
6 3MF โรดริโก เบนตังกูร์ (1997-06-25) 25 มิถุนายน ค.ศ. 1997 (27 ปี) 53 1 อังกฤษ ทอตนัมฮอตสเปอร์
7 3MF นิโกลัส เด ลา กรุซ (1997-06-01) 1 มิถุนายน ค.ศ. 1997 (27 ปี) 18 2 อาร์เจนตินา ริเบร์เปลต
10 3MF ยอร์ยัน เด อาร์รัสกาเอตา (1994-06-01) 1 มิถุนายน ค.ศ. 1994 (30 ปี) 41 8 บราซิล ฟลาเม็งกู
14 3MF ลูกัส ตอร์เรย์รา (1996-02-11) 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1996 (28 ปี) 40 0 ตุรกี กาลาทาซาไร
15 3MF เฟเดริโก บัลเบร์เด (1998-07-22) 22 กรกฎาคม ค.ศ. 1998 (26 ปี) 46 4 สเปน เรอัลมาดริด
25 3MF Manuel Ugarte (2001-04-11) 11 เมษายน ค.ศ. 2001 (23 ปี) 6 0 โปรตุเกส สปอร์ติงลิสบอน

8 4FW ฟากุนโด เปลิสตริ (2001-12-20) 20 ธันวาคม ค.ศ. 2001 (23 ปี) 9 0 อังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด
9 4FW ลุยส์ ซัวเรซ (1987-01-24) 24 มกราคม ค.ศ. 1987 (37 ปี) 136 68 อุรุกวัย นาซิโอนัล
11 4FW ดาร์วิน นุญเญซ (1999-06-24) 24 มิถุนายน ค.ศ. 1999 (25 ปี) 15 3 อังกฤษ ลิเวอร์พูล
18 4FW Maxi Gómez (1996-08-14) 14 สิงหาคม ค.ศ. 1996 (28 ปี) 28 4 ตุรกี ทรับซอนสปอร์
20 4FW Facundo Torres (2000-04-13) 13 เมษายน ค.ศ. 2000 (24 ปี) 10 0 สหรัฐอเมริกา ออร์แลนโดซิตี
21 4FW เอดินซอน กาบานิ (1987-02-14) 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1987 (37 ปี) 135 58 สเปน บาเลนเซีย
24 4FW Agustín Canobbio (1998-10-01) 1 ตุลาคม ค.ศ. 1998 (26 ปี) 3 0 บราซิล แอตเลติโก้ พาราเนนเซ่

อดีตผู้เล่นคนสำคัญ

[แก้]

ดูเพิ่ม

[แก้]

หมายเหตุ

[แก้]
  1. ถึงแม้ว่ามีการบันทึกการแข่งขันครั้งแรกจากทั้งสองทีมในวันที่ 16 พฤษภาคม ค.ศ. 1901 แต่ไม่นับเป็นทางการเนื่องจากเป้นการแข่งขันที่ไม่ได้จัดโดยสมาคมฟุตบอลอุรุกวัย แต่จัดโดยสโมสรฟุตบอล Albion ใน Paso del Molino[2][3][4][5][5]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "The FIFA/Coca-Cola World Ranking". FIFA. 20 มิถุนายน 2024. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2024.
  2. ""Historia del Fútbol Uruguayo" at Deportes en Uruguay". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 October 2021. สืบค้นเมื่อ 1 June 2018.
  3. Historias, curiosidades y estadísticas de la Selección, tras sus "primeros" 900 partidos เก็บถาวร 16 เมษายน 2021 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, El Gráfico, 4 July 2012
  4. Argentina national team archive เก็บถาวร 20 สิงหาคม 2012 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน on the RSSSF
  5. 5.0 5.1 Uruguay - international results เก็บถาวร 30 เมษายน 2004 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน on the RSSSF
  6. ในการชนะการแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งแรก อุรุกวัยในปี 1930 มีประชากรราว 2 ล้านคน ขณะที่อาร์เจนตินาในปี 1978 มีประชากร 28 ล้านคน
  7. "ไทยบันเทิง: แฟชั่นในฟุตบอลโลก". ไทยพีบีเอส. 22 June 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-07-03. สืบค้นเมื่อ 23 June 2014.
  8. "Se confirmó la lista de convocados para la Copa Mundial de Catar 2022" (ภาษาสเปน). 10 November 2022. สืบค้นเมื่อ 10 November 2022.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]