สโมสรฟุตบอลราชบุรี
ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
ชื่อเต็ม | สโมสรฟุตบอลราชบุรี Ratchaburi Football Club | |||
---|---|---|---|---|
ฉายา | ราชันมังกร | |||
ก่อตั้ง | พ.ศ. 2547 | |||
สนาม | ราชบุรี สเตเดียม | |||
ความจุ | 13,000 | |||
เจ้าของ | บริษัท ราชบุรี ฟุตบอลคลับ จำกัด | |||
ประธาน | ธนวัชร นิติกาญจนา | |||
ผู้จัดการ | โรแบร์ต พรอกูว์เรอร์ | |||
ผู้ฝึกสอน | วรวุธ ศรีมะฆะ | |||
ลีก | ไทยลีก | |||
2566–67 | อันดับที่ 6 | |||
| ||||
สโมสรฟุตบอลราชบุรี เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพในประเทศไทยโดยเป็นทีมจากจังหวัดราชบุรี ปัจจุบันเล่นในไทยลีก
ประวัติสโมสร
[แก้]สโมสรฟุตบอลราชบุรี เริ่มต้นในการส่งทีมเข้าแข่งขันฟุตบอลกีฬาแห่งชาติ และคว้าเหรียญทองแดง ที่มหานครเกมส์ ปี 2543 และร่วมฟุตบอลโปรวินเชียลลีก ดิวิชั่น 2 สามารถคว้าแชมป์มาครองได้ในปี 2549 จนได้รับสิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขันฟุตบอลดิวิชั่น 1 ในปี 2550 โดยได้อันดับ 12 ทำให้ในปี 2551 ทีมสโมสรราชบุรี เอฟซี มาเล่นในลีกดิวิชั่น 2 ซึ่งได้อันดับ 7 ส่วนในปี 2552 นั้น การแข่งขันได้เปลี่ยนแปลงระบบการจัดการแข่งขัน ซึ่งแบ่งออกเป็นโซนต่าง ๆ ทั่วประเทศ เนื่องจากมีทีมจากหลายจังหวัดทั่วทุกภาค ให้ความสนใจเข้าร่วมการแข่งขัน สโมสรฟุตบอลราชบุรี นั้นอยู่ในโซนภาคกลางและตะวันออก และได้อันดับ 9 มา 2 ฤดูกาลติดต่อกัน
หลังจบฤดูกาล 2564–65 สโมสรได้รับรางวัลสโมสรสร้างแรงบันดาลใจด้านวิทยาศาสตร์การกีฬาจากสมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย[1] และก่อนเปิดฤดูกาล 2565–66 สโมสรได้แถลงข่าวเกี่ยวกับการที่กลุ่มมิตรผลได้ยกเลิกเป็นผู้สนับสนุนหลักให้กับทีม ทำให้ในฤดูกาลนี้ทางสโมสรจะใช้ชื่อทีมลงแข่งขันในนามสโมสรฟุตบอลราชบุรี เป็นการสิ้นสุดหลังจากร่วมงานกันนานกว่า 11 ปี ในชื่อสโมสรฟุตบอลราชบุรี มิตรผล[2]
สัญลักษณ์สโมสร
[แก้]-
ฤดูกาล 2557-2561
-
ฤดูกาล 2562-ฤดูกาล 2564–65
สนามเหย้า
[แก้]สโมสรฟุตบอลราชบุรี ใช้สนามราชบุรี สเตเดียม เป็นสนามเหย้า สนามแห่งนี้มีความจุทั้งหมด 12,000 ที่นั่ง สร้างด้วยงบประมาณสูงกว่า 300 ล้านบาท โครงสร้างประกอบด้วยเหล็กเป็นส่วนใหญ่ เริ่มก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2558 และเปิดใช้งานครั้งแรกในศึกไทยลีก ฤดูกาล 2559 นัดที่ราชบุรีพบกับอาร์มี่ ยูไนเต็ด เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2559
ผู้เล่น
[แก้]ผู้เล่นชุดปัจจุบัน
[แก้]หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ
|
|
ผู้เล่นที่ถูกยืมตัว
[แก้]หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ
|
ทีมสตาฟโค้ช
[แก้]ตำแหน่ง | สตาฟ |
---|---|
ประธานสโมสร | ธนวัชร นิติกาญจนา |
ผู้อำนวยการสโมสร | โรแบร์ต พรอกูว์เรอร์ |
ที่ปรีกษาสโมสร & หัวหน้าผู้ฝีกสอน | วรวุธ ศรีมะฆะ |
ผู้ช่วยผู้ฝีกสอน | สมชาย ไม้วิลัย |
ผู้ฝีกสอนผู้รักษาประตู | ไพศาล จันทร์ประเสริฐ |
ผู้ฝีกสอนฟิตเนส | ชัยกร ชมชื่น |
รายชื่อหัวหน้าผู้ฝึกสอน
[แก้]- สมชาย ไม้วิลัย 2552–2553
- ประพล พงษ์พานิช 2553
- สมชาย ไม้วิลัย 2553–2556
- อิบัน ปาเลนโก 2556
- ริการ์โด โรดริเกซ 2557
- อเล็กซ์ โกเมซ 2557
- โจเซฟ เฟร์เร 2558
- ปาเชตา 2559–2560
- คริสทีอัน ซีเกอ 2561
- เรอเน เดอซาแยร์ 2561
- ลาสซาอัด ชับบี 2561
- มานูเอล มาร์เกซ โรกา 2561–2562
- ฟรันเชสก์ บอช 2562
- มาร์โก ซีโมเน 2562
- สมชาย ไม้วิลัย 2562 (รักษาการ)
- หนึ่งฤทัย สระทองเวียน 2562
- ชัยธัช อ่วมธรรม 2563
- สมชาย ไม้วิลัย 2563 (รักษาการ)
- มีลอส โจซิช 2563
- เศกสรร ศิริพงษ์ (เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2021)
- สมชาย ไม้วิลัย 2563–2565
- บรูนู ปึไรรา 2565
- ชาบี โมโร 2565–2566
- ดักกลาส โรดริเกวซ 2566
- การ์โลส เปญญา 2566–2567
- สุรพงษ์ คงเทพ 2567
- สมชาย ไม้วิลัย 2567 (รักษาการ)
- วรวุธ ศรีมะฆะ 2567–
เกียรติประวัติ
[แก้]- ชนะเลิศ (1): 2012
- ชนะเลิศ (1): 2011
- ลีกภูมิภาคดิวิชั่น 2 ภาคกลางและภาคตะวันออก:
- ชนะเลิศ (1): 2011
- ชนะเลิศ (1): 2016 (ครองแชมป์ร่วมกับ ชลบุรี เอฟซี, ชัยนาท ฮอร์นบิล และ สุโขทัย เอฟซี)
- รองชนะเลิศ (1): 2019
สถิติของสโมสร
[แก้]ผลงานแบ่งตามฤดูกาล
[แก้]ฤดูกาล | ลีก[3] | เอฟเอคัพ | ลีกคัพ | เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก | ผู้ทำประตูสูงสุด | |||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ระดับ | แข่ง | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | คะแนน | อันดับ | ชื่อ | ประตู | ||||
2550 | ดิวิชัน 1 | 22 | 5 | 4 | 13 | 31 | 40 | 19 | อันดับที่ 12 | – | ||||
2551 | ดิวิชัน 2 | 20 | 7 | 9 | 4 | 32 | 26 | 30 | อันดับที่ 7 | – | ||||
2552 | ดิวิชัน 2 กลาง-ตะวันออก | 22 | 4 | 9 | 9 | 31 | 33 | 21 | อันดับที่ 9 | – | ||||
2553 | ดิวิชัน 2 กลาง-ตะวันออก | 30 | 12 | 9 | 9 | 45 | 39 | 45 | อันดับที่ 9 | – | ||||
2554 | ดิวิชัน 2 กลาง-ตะวันออก | 30 | 20 | 8 | 2 | 67 | 19 | 68 | อันดับที่ 1 | รอบที่สอง | รอบแรก | – | พรชัย อาจจินดา | 18+(5) |
2555 | ดิวิชัน 1 | 34 | 24 | 6 | 4 | 85 | 31 | 78 | อันดับที่ 1 | รอบที่สี่ | รองชนะเลิศ | – | ดักกลาส | 19 |
2556 | ไทยพรีเมียร์ลีก | 32 | 6 | 12 | 14 | 31 | 39 | 30 | อันดับที่ 15 | รอบที่สาม | รองชนะเลิศ | – | ดักกลาส | 10 |
2557 | ไทยพรีเมียร์ลีก | 38 | 17 | 14 | 7 | 62 | 42 | 65 | อันดับที่ 4 | รอบที่สี่ | รอบรองชนะเลิศ | – | เอเบร์ชี | 26 |
2558 | ไทยพรีเมียร์ลีก | 34 | 17 | 4 | 13 | 48 | 50 | 55 | อันดับที่ 7 | รอบก่อนรองชนะเลิศ | รอบที่สาม | – | เอเบร์ชี | 19 |
2559 | ไทยลีก | 30 | 14 | 7 | 9 | 52 | 35 | 49 | อันดับที่ 6 | ชนะเลิศ* | รอบแรก | – | เอเบร์ชี | 20 |
2560 | ไทยลีก | 34 | 16 | 7 | 11 | 63 | 49 | 55 | อันดับที่ 6 | รอบแรก | รอบรองชนะเลิศ | – | Marcel Essombé | 20 |
2561 | ไทยลีก | 34 | 12 | 7 | 15 | 50 | 50 | 43 | อันดับที่ 12 | รอบรองชนะเลิศ | รอบแรก | – | คัง ซู-อิล | 13 |
2562 | ไทยลีก | 30 | 10 | 8 | 12 | 48 | 48 | 38 | อันดับที่ 8 | รองชนะเลิศ | รอบ 16 ทีมสุดท้าย | – | อียานิก บอลี | 12 |
2563–64 | ไทยลีก | 30 | 13 | 7 | 10 | 48 | 41 | 46 | อันดับที่ 8 | รอบ 8 ทีมสุดท้าย | – | – | ฟิลิป โรลเลอร์ | 14 |
2564–65 | ไทยลีก | 30 | 9 | 9 | 12 | 32 | 36 | 36 | อันดับที่ 12 | รอบ 32 ทีมสุดท้าย | รอบ 8 ทีมสุดท้าย | รอบแบ่งกลุ่ม | แดร์เลย์ | 13 |
2565–66 | ไทยลีก | 30 | 10 | 11 | 9 | 32 | 39 | 41 | อันดับที่ 8 | รอบ 32 ทีมสุดท้าย | รอบรองชนะเลิศ | – | แดร์เลย์ | 8 |
2566–67 | ไทยลีก | 30 | 11 | 6 | 13 | 39 | 35 | 39 | อันดับที่ 6 | รอบ 32 ทีมสุดท้าย | รอบก่อนรองชนะเลิศ | – | เอ็นจีวา ราโคโตฮารีมาลาลา | 9 |
2567–68 | ไทยลีก | – |
ชนะเลิศ | รองชนะเลิศ | อันดับที่สาม | เลื่อนชั้น | ตกชั้น |
ผลงานระดับทวีป
[แก้]ฤดูกาล | การแข่งขัน | รอบ | คู่แข่ง | เหย้า | เยือน | รวม |
---|---|---|---|---|---|---|
2564 | เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก | กลุ่มจี | โปฮัง สตีลเลอร์ส | 0–0 | 0–2 | อันดับที่ 4 |
โจโฮร์ดารุลตักซิม | 0–1 | 0–0 | ||||
นาโงยะ แกรมปัส | 0–4 | 0–3 |
สโมสรพันธมิตร
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ "ผลการประกาศรางวัล 27 สาขา FA Thailand Awards 2021/22". 24 กรกฎาคม 2022. สืบค้นเมื่อ 12 สิงหาคม 2022.
- ↑ แยกทางมิตรผล! ฟลุค คอนเฟิร์มใช้ชื่อ "ราชบุรี เอฟซี" - เตรียมเปิดตัวผู้สนับสนุนใหม่
- ↑ King, Ian; Schöggl, Hans & Stokkermans, Karel (20 March 2014). "Thailand – List of Champions". RSSSF. สืบค้นเมื่อ 29 October 2014. Select link to season required from chronological list.