เจแปนแอร์ไลน์
| |||||||
ก่อตั้ง | 1 สิงหาคม ค.ศ. 1951 (73 ปี) | ||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ท่าหลัก | |||||||
ท่ารอง | |||||||
เมืองสำคัญ | |||||||
สะสมไมล์ |
| ||||||
พันธมิตรการบิน | วันเวิลด์ | ||||||
บริษัทลูก |
| ||||||
ขนาดฝูงบิน | 146 | ||||||
จุดหมาย | 125 | ||||||
บริษัทแม่ | เจแปนแอร์ไลน์ คอร์ปปอเรชั่น | ||||||
สำนักงานใหญ่ | เขตชินางาวะ โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น | ||||||
บุคลากรหลัก |
| ||||||
รายได้ | 1.37 ล้านล้านเยน (ค.ศ. 2022)[2] | ||||||
รายได้จากการดำเนินงาน | 64.56 พันล้านเยน (ค.ศ. 2022)[2] | ||||||
รายได้สุทธิ | 33.87 พันล้านเยน (ค.ศ. 2022)[2] | ||||||
เว็บไซต์ | www |
บริษัท สายการบินญี่ปุ่น มหาชนจำกัด (ญี่ปุ่น: 日本航空株式会社; โรมาจิ: Nihon Kōkū Kabushiki-gaisha) ดำเนินการในชื่อ เจแปนแอร์ไลน์ (อังกฤษ: Japan Airlines) หรือย่อว่า เจเอแอล (JAL) เป็นสายการบินประจำชาติญี่ปุ่น ที่มีฐานการบินอยู่สองแห่งในโตเกียวคือท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะกับท่าอากาศยานนานาชาติโตเกียว (ฮาเนดะ) และอีกสองแห่งในจังหวัดโอซากะคือท่าอากาศยานนานาชาติคันไซและท่าอากาศยานนานาชาติโอซากะ (อิตามิ) ปัจจุบันมีเส้นทางบินระหว่างประเทศ 33 จุดหมายในทวีปเอเชีย, อเมริกา, ยุโรป และโอเชียเนีย และมีเส้นทางบินในประเทศ 59 จุดหมาย และสายการบินที่ใหญ่เป็นอันดับสองของประเทศญี่ปุ่น รองจากออล นิปปอน แอร์เวย์
สายการบินก่อตั้งในรูปแบบบริษัทเอกชนเมื่อ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1951 จากการผลักดันของรัฐบาลญี่ปุ่น โดยเริ่มบินเส้นทางภายในประเทศจากเครื่องบินที่เช่ามา ถือเป็นสายการบินภายในประเทศแห่งแรกของญี่ปุ่นหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ต่อมาในปีค.ศ. 1953 สภานิติบัญญัติแห่งชาติได้ตรากฎหมายอนุมัติให้แจแปนแอร์ไลน์มีสถานะเป็นรัฐวิสาหกิจ โดยโอนทรัพย์และหนี้จากบริษัทเดิมทั้งหมด ตั้งแต่นั้นมาสายการบินนี้ก็ได้กลายเป็นสายการบินประจำชาติของญี่ปุ่น หลังดำเนินกิจการได้กว่าสามทศวรรษก็มีการแปรรูปสายการบินให้เป็นเอกชนเต็มตัวในปีค.ศ. 1987 เจแปนแอร์ไลน์มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในเขตชินางาวะ กรุงโตเกียว
สายการบินเจแปนแอร์ไลน์มีประวัติเสียเครื่องบินทุกประเภทรวม 11 ลำแบ่งเป็นเครื่องขนส่งอากาศยานหนึ่งลำ เครื่องบินใช้ฝึกอบรม 2 ลำ[3] [4] เครื่องขนส่งผู้โดยสารและสินค้า 8 ลำ ในจำนวน 8 ลำ มีหนึ่งลำที่เสียเครื่องบินไปโดยไม่มีผู้โดยสารอยู่บินเครื่องได้แก่ เจแปนแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 404
จุดหมายปลายทาง
[แก้]ข้อตกลงการบินร่วม
[แก้]เจแปนแอร์ไลน์มีข้อตกลงการบินร่วมกับสายการบินต่างๆ โดยต่อไปนี้:[5][6]
- อาเอโรเมฆิโก[7]
- แอร์ฟรานซ์
- แอร์ตาฮีตี นูอี
- แอร์กาแล็ง[8]
- อะแลสกาแอร์ไลน์
- อามากูซะแอร์ไลน์[9]
- อเมริกันแอร์ไลน์[10]
- บางกอกแอร์เวย์ส
- บริติชแอร์เวย์
- คาเธ่ย์แปซิฟิค
- ไชนาแอร์ไลน์[11]
- ไชนาอีสเทิร์นแอร์ไลน์
- ไชนาเซาเทิร์นแอร์ไลน์
- เอมิเรตส์[12]
- ฟิจิแอร์เวย์
- ฟินน์แอร์
- ฟูจิดรีมแอร์ไลน์[13]
- การูดาอินโดนีเซีย[14]
- ฮาวาเอียนแอร์ไลน์
- ไอบีเรีย
- เจ็ตบลูแอร์เวย์
- เจ็ตสตาร์แอร์เวย์
- เจ็ตสตาร์เจแปน
- คาลิตาแอร์[15][16]
- โคเรียนแอร์
- ลาตัม บราซิล
- ลาตัม ชิลี
- มาเลเซียแอร์ไลน์
- เมียทมองโกเลียนแอร์ไลน์[17]
- โอเรียนตัลแอร์บริดจ์[18][19]
- ควอนตัส
- กาตาร์แอร์เวย์[20]
- รอยัลบรูไนแอร์ไลน์[21]
- รอยัลจอร์แดเนียน
- ช่างไห่แอร์ไลน์[22]
- ศรีลังกันแอร์ไลน์
- เวียดเจ็ทแอร์[23]
- วิสตารา[24]
- เวสต์เจ็ต
- เซี่ยเหมินแอร์
กิจการร่วมค้า
[แก้]เจแปนแอร์ไลน์ได้มีข้อตกลงกิจการร่วมค้ากับสายการบินต่างๆ ดังต่อไปนี้:
ฝูงบิน
[แก้]ณ เดือนตุลาคม ค.ศ. 2024 เจแปนแอร์ไลน์มีเครื่องบินประจำการในฝูงบินดังนี้:[29][30][31]
เครื่องบิน | ประจำการ | คำสั่งซื้อ | ผู้โดยสาร | หมายเหตุ | ||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
F | J | W | Y | รวม | ||||
แอร์บัส เอ321นีโอ | — | 11 | รอประกาศ | เริ่มส่งมอบในปี 2028[32] | ||||
แอร์บัส เอ350-900 | 15 | 3 | 12 | 94 | — | 263 | 369 | สั่งซื้อพร้อม 25 ตัวเลือก[33] หนึ่งลำจะส่งมอบในการจัดเรียงแบบภายในประเทศในปี 2025 เพื่อทดแทนอากาศยานที่เกิดเหตุเที่ยวบินที่ 516[32] |
56 | 323 | 391 | ||||||
— | 20 | รอประกาศ | ใช้การจัดเรียงแบบระหว่างประเทศ เริ่มส่งมอบในปี 2027[32] | |||||
แอร์บัส เอ350-1000 | 5 | 8[34] | 6 | 54 | 24 | 155 | 239[35] | ทดแทนโบอิง 777-300อีอาร์ |
โบอิง 737-800 | 42 | — | — | 12 | — | 132 | 144 | |
20 | 145 | 165 | การจัดเรียงแบบภายในประเทศ | |||||
โบอิง 737 แมกซ์ 8 | — | 21 | รอประกาศ | เริ่มส่งมอบในปี 2026[36] | ||||
โบอิง 767-300อีอาร์ | 25 | — | — | 24 | — | 175 | 199 | |
42 | 219 | 261 | การจัดเรียงแบบภายในประเทศ | |||||
5 | 205 | 252 | ||||||
โบอิง 777-300อีอาร์ | 12 | — | 8 | 49 | 40 | 147 | 244 | จะปลดประจำการและทดแทนด้วยแอร์บัส เอ350-1000 รวมโบอิง 777-300อีอาร์ลำต้นแบบ (JA731J และ JA732J) |
โบอิง 787-8 | 19 | — | — | 30 | — | 156 | 186 | |
176 | 206 | |||||||
4 | 6 | 58 | 227 | 291 | การจัดเรียงแบบภายในประเทศ | |||
โบอิง 787-9 | 22 | 10 | — | 44 | 35 | 116 | 195 | ส่งมอบจนถึงปี ค.ศ. 2027[32] สั่งซื้อพร้อม 10 ตัวเลือก[37] |
52 | 203 | |||||||
28 | 21 | 190 | 239 | |||||
ฝูงบินของเจเอแอลคาร์โก | ||||||||
โบอิง 767-300บีซีเอฟ | 2 | 1 | สินค้า | [38] | ||||
รวม | 146 | 84 |
เจแปนแอร์ไลน์มีอายุฝูงบินเฉลี่ย 11.8 ปี
ภาพฝูงบิน
[แก้]-
แอร์บัส เอ350-900
-
แอร์บัส เอ350-1000
-
โบอิง 737-800
-
โบอิง 767-300อีอาร์
-
โบอิง 777-300อีอาร์
-
โบอิง 787-8
-
โบอิง 787-9
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "JO 7340.2J - Contractions - Including Change 1" (PDF). Federal Aviation Administration. 10 October 2019. p. 3-1-50. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 14 February 2021. สืบค้นเมื่อ 22 November 2019.
- ↑ 2.0 2.1 2.2 Consolidated Financial Results for the year Ended March 31, 2023 (PDF) (Report). Japan Airlines. 2 May 2023. p. 1. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 18 May 2023. สืบค้นเมื่อ 2 January 2023.
- ↑ JA8023
- ↑ Japan Airline Flight 90
- ↑ "Profile on Japan Airlines". CAPA. Centre for Aviation. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 October 2016. สืบค้นเมื่อ 29 October 2016.
- ↑ "For a CodeShare Flight". Japan Airlines. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 November 2020. สืบค้นเมื่อ 19 July 2018.
- ↑ "JAL Group - PRESS RELEASES - Aeromexico and Japan Airlines Announce Codeshare Agreement". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 January 2018. สืบค้นเมื่อ 22 January 2018.
- ↑ "JAL Group - PRESS RELEASES - Japan Airlines and Aircalin announce Codeshare Agreement". 12 September 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 June 2020. สืบค้นเมื่อ 14 February 2020.
- ↑ "Codeshare Flights with Amakusa Airlines - JAL Domestic Flights". jal.co.jp. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 August 2020. สืบค้นเมื่อ 14 February 2020.
- ↑ China Airlines, expands codeshare agreements with JAL (February 21, 2017). "China Airlines expands codeshare flights with Japan Airlines". Business Traveller. Craig Bright. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 January 2023. สืบค้นเมื่อ 10 May 2022.
- ↑ "Codeshare Flights with Fuji Dream Airlines - JAL Domestic Flights". jal.co.jp. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 August 2020. สืบค้นเมื่อ 14 February 2020.
- ↑ "Garuda expands US routes with Japan Airlines code-share deal". Nikkei Asian Review. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 September 2018. สืบค้นเมื่อ 12 September 2018.
- ↑ "Japan Airlines Announces Freighter Codeshare Agreement with Kalitta Air". Japan Airlines (Press release). 1 August 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 December 2019. สืบค้นเมื่อ 7 August 2019.
- ↑ "JAL - Japan Airlines resumes cargo ops through a codeshare". Ch-Aviation. 7 August 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 August 2019. สืบค้นเมื่อ 7 August 2019.
- ↑ "JAL Group - PRESS RELEASES - Japan Airlines and MIAT Mongolian Airlines Agree on Codeshare Partnership Effective March 31, 2020". press.jal.co.jp. 5 February 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 June 2020. สืบค้นเมื่อ 14 February 2020.
- ↑ "JAL Group Revises FY2022 Winter Schedule Plans on Domestic Network". Japan Airlines (Press release). 23 August 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 October 2022. สืบค้นเมื่อ 30 October 2022.
- ↑ "Codeshare Flights with Oriental Air Bridge". Japan Airlines. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 October 2022. สืบค้นเมื่อ 30 October 2022.
- ↑ "Airline Routes". Air Transport World. 30 June 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 June 2014.
Japan Airlines and Qatar Airways, both members of oneworld, began codesharing on Qatar operated flights between Doha and Tokyo Haneda. This is in addition to JAL's codeshare on Qatar flights between Tokyo Narita and Doha, as well as between Osaka KIX and Doha from last 3 Dec..
- ↑ "JAL Group - PRESS RELEASES - Royal Brunei Airlines and Japan Airlines Agree on Codeshare Agreement". press.jal.co.jp. 5 February 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 June 2020. สืบค้นเมื่อ 14 February 2020.
- ↑ "JAL Group - PRESS RELEASES - Japan Airlines Enhances International Network in China by Signing Codeshare Agreement with Shanghai Airlines". press.jal.co.jp. 9 January 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 June 2020. สืบค้นเมื่อ 14 February 2020.
- ↑ "JAL / Vietjet Air plans codeshare service from late-Oct 2018". Routesonline. 23 October 2018. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 May 2018. สืบค้นเมื่อ 5 May 2018.
- ↑ "JAL Group - PRESS RELEASES - Japan Airlines and Vistara enter Codeshare Partnership". press.jal.co.jp. 22 February 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 December 2019. สืบค้นเมื่อ 14 February 2020.
- ↑ "Japan Airlines and American Airlines Joint Service". jal.co.jp. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 May 2019. สืบค้นเมื่อ 14 February 2020.
- ↑ 26.0 26.1 26.2 "Together offering you more between Europe and Japan". jal.co.jp. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 August 2020. สืบค้นเมื่อ 14 February 2020.
- ↑ Together To Japan เก็บถาวร 18 มิถุนายน 2020 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน finnair.com. Retrieved 2018-05-15.
- ↑ "JAL and Malaysia Airlines receive go-ahead for 'joint venture'". Nikkei Asian Review. 19 December 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 August 2020. สืบค้นเมื่อ 14 February 2020.
- ↑ "World Airliner Census 2017". Flight International. 15 August 2017. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 August 2017. สืบค้นเมื่อ 7 November 2017.
- ↑ "Domestic aircraft and seat configurations". Japan Airlines. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 May 2019. สืบค้นเมื่อ 14 August 2022.
- ↑ "International aircraft and seat configurations". Japan Airlines. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 May 2019. สืบค้นเมื่อ 14 August 2022.
- ↑ 32.0 32.1 32.2 32.3 "Japan Airlines to Introduce 42 New Aircraft from Airbus and Boeing". Japan Airlines (Press release). March 21, 2024. สืบค้นเมื่อ March 21, 2024.
- ↑ "Airbus and Japan Airlines sign their first ever order" (Press release). Japan Airlines. 7 October 2013. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 April 2023. สืบค้นเมื่อ 17 April 2023.
- ↑ "Airbus Orders and Deliveries" (Press release). Airbus. 8 June 2018. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 October 2018. สืบค้นเมื่อ 8 June 2018.
- ↑ "JAL Unveils New International Flagship Airbus A350-1000 Cabin Interiors Ahead of Upcoming Service Launch to New York".
- ↑ "Japan Airlines Selects 737-8 to Grow Sustainable World-Class Fleet" (Press release). Boeing Media Room. 23 March 2023. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-04-06. สืบค้นเมื่อ 2023-04-17.
- ↑ "Japan Airlines orders 10 Boeing 787-9s, takes options for 10 more". Reuters. 22 July 2024.
- ↑ "Japan Airlines to re-introduce B767-300 freighters". Ch-Aviation. 4 May 2023.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- เจแปนแอร์ไลน์ (อังกฤษ)