ข้ามไปเนื้อหา

กีฬามหาวิทยาลัยโลก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก FISU World University Games)
กีฬามหาวิทยาลัยโลก
Universiade
ชื่อย่อFISU
ก่อตั้ง1 มกราคม 1949; 76 ปีก่อน (1949-01-01)
กีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อน 1959
อิตาลี ตูริน, อิตาลี
จัดขึ้นทุก2 ปี
ครั้งล่าสุดกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อน 2021 ที่เฉิงตู
จีน จีน
กีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูหนาว 2023 ที่เลค เพลซิด
สหรัฐอเมริกา สหรัฐ
วัตถุประสงค์กีฬาสำหรับนานาชาติ
สำนักงานใหญ่สหพันธ์กีฬามหาวิทยาลัยโลก
สวิตเซอร์แลนด์ โลซาน, สวิตเซอร์แลนด์ (ตั้งแต่ ค.ศ. 2011)
เบลเยียม Brussels, Belgium (ค.ศ. 1949-2011)
ประธานสวิตเซอร์แลนด์ เลออนซ์ เอเดอร์
เว็บไซต์สหพันธ์กีฬามหาวิทยาลัยโลก

กีฬามหาวิทยาลัยโลก (อังกฤษ: World University Games เคยใช้ชื่อ Universiade ตั้งแต่ ค.ศ. 1959-2020) เป็นชื่อการแข่งขันกีฬาหลายชนิดระหว่างนักศึกษามหาวิทยาลัยจากนานาชาติทั่วโลก อยู่ในการกำกับดูแลของ สหพันธ์กีฬามหาวิทยาลัยโลก (Federation of International University Sports - FISU) โดยชื่อเดิม Universiade เป็นการนำศัพท์ภาษาอังกฤษ 2 คำ คือ university (มหาวิทยาลัย) และ olympiad (โอลิมปิก) มาสนธิกัน

การจัดการแข่งขันจะจัดขึ้นทุกสองปี โดยมีกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูหนาวและกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อน ซึ่งทั้งสองมหกรรมกีฬานี้จะจัดแข่งขันในปีเดียวกัน แต่ต่างเวลาและสถานที่ การแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยโลกเริ่มจัดครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2504 โดยจัดขึ้นที่เมืองตูริน ประเทศอิตาลี

สถานที่จัดการแข่งขัน

[แก้]
ปี ครั้งที่ กีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อน ครั้งที่ กีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูหนาว
พ.ศ. 2504 1 ตูริน, อิตาลี
พ.ศ. 2503 1 ชามอนี, ฝรั่งเศส
พ.ศ. 2506 2 โซเฟีย, บัลแกเรีย
พ.ศ. 2505 2 วีลาร์, สวิตเซอร์แลนด์
พ.ศ. 2508 3 ปอร์ตูอาเลเกร, บราซิล
พ.ศ. 2507 3 ชปินดเลรูฟมลีน, เชโกสโลวาเกีย
พ.ศ. 2510 4 บูดาเปสต์, ฮังการี
พ.ศ. 2509 4 เซสตรีเอเร, อิตาลี
พ.ศ. 2512 5 โตเกียว, ญี่ปุ่น
พ.ศ. 2511 5 อินส์บรุค, ออสเตรีย
พ.ศ. 2514 6 ตูริน, อิตาลี 6 โรวานีเอมี, ฟินแลนด์
พ.ศ. 2515 7 เลกแพลซิด, สหรัฐอเมริกา
พ.ศ. 2516 7 มอสโก, สหภาพโซเวียต
พ.ศ. 2518 8 โรม, อิตาลี 8 ลีวิญโญ, อิตาลี
พ.ศ. 2520 9 โซเฟีย, บัลแกเรีย
พ.ศ. 2521 9 ชปินดเลรูฟมลีน, เชโกสโลวาเกีย
พ.ศ. 2522 10 เม็กซิโกซิตี, เม็กซิโก
พ.ศ. 2524 11 บูคาเรสต์, โรมาเนีย 10 ฆากา, สเปน
พ.ศ. 2526 12 เอดมันตัน, แคนาดา 11 โซเฟีย, บัลแกเรีย
พ.ศ. 2528 13 โกเบ, ญี่ปุ่น 12 เบลลูโน, อิตาลี
พ.ศ. 2530 14 ซาเกร็บ, ยูโกสลาเวีย 13 ชเติร์บสแกเปลโซ, เชโกสโลวาเกีย
พ.ศ. 2532 15 ดืสบวร์ค, เยอรมนี 14 โซเฟีย, บัลแกเรีย
พ.ศ. 2534 16 เชฟฟีลด์, สหราชอาณาจักร 15 ซัปโปะโระ, ญี่ปุ่น
พ.ศ. 2536 17 บัฟฟาโล, สหรัฐอเมริกา 16 ซากอปาแน, โปแลนด์
พ.ศ. 2538 18 ฟูกูโอกะ, ญี่ปุ่น 17 ฆากา, สเปน
พ.ศ. 2540 19 ซิซิลี, อิตาลี 18 มูจู / ช็อนจู, เกาหลีใต้
พ.ศ. 2542 20 ปัลมาเดมายอร์กา, สเปน 19 ปอปราด, สโลวาเกีย
พ.ศ. 2544 21 ปักกิ่ง, จีน 20 ซากอปาแน, โปแลนด์
พ.ศ. 2546 22 แทกู, เกาหลีใต้ 21 ตาร์วีซีโอ, อิตาลี
พ.ศ. 2548 23 อิซมีร์, ตุรกี 22 อินส์บรุค / เซเฟลด์, ออสเตรีย
พ.ศ. 2550 24 กรุงเทพมหานคร, ไทย 23 ตูริน, อิตาลี
พ.ศ. 2552 25 เบลเกรด, เซอร์เบีย 24 ฮาร์บิน, จีน
พ.ศ. 2554 26 เซินเจิ้น, จีน 25 แอร์ซูรุม, ตุรกี
พ.ศ. 2556 27 คาซาน, รัสเซีย 26 เตรนตีโน, อิตาลี
พ.ศ. 2558 28 ควังจู, เกาหลีใต้ 27 กรานาดา, สเปน
พ.ศ. 2560 29 ไทเป, ไต้หวัน 28 อัลมาเตอ, คาซัคสถาน
พ.ศ. 2562 30 เนเปิลส์, อิตาลี 29 ครัสโนยาสค์, รัสเซีย
พ.ศ.

2564

- เลื่อนการจัดแข่งขันเนื่องจากการระบาด

โรคโควิด 19

- เลื่อนการจัดแข่งขันเนื่องจากการระบาด

โรคโควิด 19

พ.ศ. 2566 31 เฉิงตู, จีน 30 ลูเซิร์น, สวิตเซอร์แลนด์

สรุปเหรียญ

[แก้]
อันดับที่ ประเทศ ทอง เงิน ทองแดง รวม
1 สหรัฐ 474 404 371 1249
2 จีน 414 281 244 939
3 สหภาพโซเวียต 409 329 253 991
4 รัสเซีย 391 315 343 1049
5 ญี่ปุ่น 284 288 370 942
6 เกาหลีใต้ 197 172 188 548
7 อิตาลี 171 190 226 587
8 ยูเครน 160 170 156 470
9 โรมาเนีย 145 125 140 410
10 เยอรมนี 109 145 197 451

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]