ข้ามไปเนื้อหา

เอเชียนคัพ 2007

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก 2007 AFC Asian Cup)
เอเอฟซี เอเชียนคัพ 2007
เอเชียนคัพ 2007
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพประเทศอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย
ประเทศมาเลเซีย มาเลเซีย
ประเทศไทย ไทย
ประเทศเวียดนาม เวียดนาม
วันที่7 - 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2550
ทีม16
สถานที่(ใน 7 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศ อิรัก (สมัยที่ 1)
รองชนะเลิศ ซาอุดีอาระเบีย
อันดับที่ 3 เกาหลีใต้
อันดับที่ 4 ญี่ปุ่น
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน32
จำนวนประตู84 (2.63 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม724,222 (22,632 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดประเทศอิรัก ยูนิส มะห์มูด
ประเทศซาอุดีอาระเบีย ยัสเซอร์ อัล-กาห์ตานี
ประเทศญี่ปุ่น นาโอฮิโระ ทาคาฮาระ
(4 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมประเทศอิรัก ยูนิส มะห์มูด
รางวัลแฟร์เพลย์ ญี่ปุ่น
2004
2011

เอเชียนคัพ 2007 เป็นการแข่งขันฟุตบอลเอเชียนคัพ ครั้งที่ 14 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 7-29 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 โดยมี 4 ประเทศร่วมเป็นเจ้าภาพ ได้แก่ ไทย มาเลเซีย เวียดนาม และ อินโดนีเซีย ซึ่ง ทีมชาติเวียดนาม เป็นทีมเจ้าภาพทีมเดียวที่ผ่านเข้ารอบสอง นอกจากนี้ในการแข่งขัน ทีมชาติออสเตรเลียเข้าร่วมแข่งขันเป็นครั้งแรกภายหลังจากที่ย้ายมาเข้าเอเอฟซี

ประเทศที่ชนะเลิศการแข่งขัน ฟุตบอลทีมชาติอิรัก โดยชนะ ซาอุดีอาระเบีย ไป 1 ประตูต่อ 0

สัญลักษณ์การแข่งขัน

[แก้]

สัญลักษณ์การแข่งขันเอเชียนคัพในครั้งนี้ มีสัญลักษณ์ของ 4 ประเทศ ร่วมกัน โดย สีน้ำเงินแทนประเทศไทย สีแดงแทนประเทศเวียดนาม สีเหลืองแทนประเทศมาเลเซีย และสีเขียวแทนประเทศอินโดนีเซีย

รอบคัดเลือก

[แก้]

ทีมที่เข้ารอบสุดท้าย

[แก้]

การจับสลากแบ่งกลุ่ม

[แก้]

จากการแบ่งสายในวันที่ 19 ธันวาคม 2549 ได้มีการแบ่งทีมจาก 16 ทีมออกเป็น 4 กลุ่ม โดยกลุ่มแรกเป็นกลุ่มเจ้าภาพ และ 3 กลุ่มที่เหลือแบ่งตามอันดับโลกฟีฟ่า เพื่อให้แต่ละสายมีความเท่าเทียมกันและไม่ให้ทีมที่อันดับสูงเจอกันเองในรอบแบ่งสาย ตัวเลขในวงเล็บเป็นอันดับของเดือนธันวาคมในวันที่ทำการแบ่งสาย[1]

กลุ่ม 1 (เจ้าภาพ) กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 กลุ่ม 4
ประเทศไทย ไทย [137]
ประเทศมาเลเซีย มาเลเซีย [152]
ประเทศเวียดนาม เวียดนาม [172] (เข้าร่วมครั้งแรก)
ประเทศอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย [153]
ประเทศจีน จีน [84]
ประเทศบาห์เรน บาห์เรน [97]
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ [87]
ประเทศอิรัก อิรัก [83]
ประเทศกาตาร์ กาตาร์ [58]
ประเทศซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย [64]
ประเทศโอมาน โอห์มาน [72]
ประเทศอุซเบกิสถานอุซเบกิสถาน [45]
ประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ [51]
ประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น [47] (แชมป์เก่า)
ประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย [39] (เข้าร่วมครั้งแรก)
ประเทศอิหร่าน อิหร่าน [38]

และเมื่อจับฉลากแบ่งสายแล้วได้เป็น 4 สายดังนี้

สาย A

[แก้]

สาย B

[แก้]

สาย C

[แก้]

สาย D

[แก้]

สนามกีฬา และเมืองที่จัด

[แก้]
ประเทศอินโดนีเซีย จาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย ปาเล็มบัง ประเทศมาเลเซีย กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ชาห์อาลัม
สนามกีฬาเกลอรา บังการ์โน สนามกีฬาเกลอรา ศรีวิจายา สนามกีฬาแห่งชาติบูกิตจาลิล สนามกีฬาชาห์อาลัม
ความจุ: 88,306 ความจุ: 40,000 ความจุ: 87,411 ความจุ: 69,932
เอเชียนคัพ 2007ตั้งอยู่ในประเทศมาเลเซีย
ชาห์อาลัม
ชาห์อาลัม
ประเทศไทย กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย กรุงเทพมหานคร ประเทศเวียดนาม ฮานอย ประเทศเวียดนาม โฮจิมินห์
สนามราชมังคลากีฬาสถาน สนามกีฬาศุภชลาศัย สนามกีฬาหมีดิ่ญ สนามกีฬาทหาร โฮจิมินห์
ความจุ: 65,000 ความจุ: 19,793 ความจุ: 40,192 ความจุ: 25,000

ปัญหาความไม่พร้อมของประเทศไทย

[แก้]

ในเดือนมิถุนายน 2548 ทางเอเอฟซีได้แจ้งเตือนประเทศไทยให้ปรับปรุงสนามราชมังคลากีฬาสถานที่ใช้ในการแข่งขันให้พร้อม โดยถ้าไม่ทำการปรับปรุง ประเทศไทยจะหมดสิทธิในฐานะเจ้าภาพโดยให้ประเทศสิงคโปร์รับเป็นเจ้าภาพแทน โดนในวันที่ 12 สิงหาคม 2548 ทางเอเอฟซีได้ยืนยันว่าประเทศไทยจะเป็นเจ้าภาพแน่นอน และอีกครั้ง ในเดือนตุลาคม 2549 ประเทศไทยโดนเตือนในการปรับปรุงสนามอีกครั้งหนึ่ง เนื่องจากสนามที่ยังไม่ได้รับการปรับปรุงดีพอ รวมถึงสภาพการเมืองที่ไม่มั่นคงในภายหลังเหตุการณ์รัฐประหาร

ตารางเวลาและผลการแข่งขัน

[แก้]

กลุ่ม A

[แก้]
ทีม แต้ม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย รวม
 อิรัก 5 3 1 2 0 4 2 +2
 ออสเตรเลีย 4 3 1 1 1 6 4 +2
 ไทย 4 3 1 1 1 3 5 -2
 โอมาน 2 3 0 2 1 1 3 -2





กลุ่ม B

[แก้]
ทีม แต้ม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย รวม
 ญี่ปุ่น 7 3 2 1 0 8 3 +5
 เวียดนาม 4 3 1 1 1 4 5 -1
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 3 3 1 0 2 3 6 -3
 กาตาร์ 2 3 0 2 1 3 4 -1





กลุ่ม C

[แก้]
ทีม แต้ม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย รวม
 อิหร่าน 7 3 2 1 0 6 3 +3
 อุซเบกิสถาน 6 3 2 0 1 9 2 +7
 จีน 4 3 1 1 1 7 6 +1
 มาเลเซีย 0 3 0 0 3 1 12 -11





กลุ่ม D

[แก้]
ทีม แต้ม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย รวม
 ซาอุดีอาระเบีย 7 3 2 1 0 7 2 +5
 เกาหลีใต้ 4 3 1 1 1 3 3 0
 อินโดนีเซีย 3 3 1 0 2 3 4 -1
 บาห์เรน 3 3 1 0 2 3 7 -4





รอบทัวร์นาเมนต์

[แก้]
รอบก่อนรองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
                   
21 ก.ค. - กรุงเทพฯ        
  อิรัก  2
25 ก.ค. - กัวลาลัมเปอร์
  เวียดนาม  0  
  อิรัก  0 (4)
22 ก.ค. - กัวลาลัมเปอร์
    เกาหลีใต้  0 (3)  
  อิหร่าน  0 (2)
29 ก.ค. - จาการ์ตา
  เกาหลีใต้  0 (4)  
  อิรัก  1
21 ก.ค. - ฮานอย
    ซาอุดีอาระเบีย   0
  ญี่ปุ่น  1 (4)
25 ก.ค. - ฮานอย
  ออสเตรเลีย  1 (3)  
  ญี่ปุ่น  2 ชิงอันดับที่ 3
22 ก.ค. - จาการ์ตา
    ซาอุดีอาระเบีย   3  
  ซาอุดีอาระเบีย  2   เกาหลีใต้  0 (6)
  อุซเบกิสถาน  1     ญี่ปุ่น  0 (5)
28 ก.ค. - ปาเลมบัง

รอบก่อนรองชนะเลิศ

[แก้]



รอบรองชนะเลิศ

[แก้]

รอบชิงที่ 3

[แก้]

รอบชิงชนะเลิศ

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "อันดับโลกฟีฟ่า เดือน ธันวาคม 2549". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-12-21. สืบค้นเมื่อ 2006-12-22.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]