ซือหมา หล่าง
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก สุมาหลัง)
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
ซือหมา หล่าง | |
---|---|
司馬朗 | |
ข้าหลวงมณฑลกุนจิ๋ว (兗州刺史 เหยี่ยนโจวชื่อฉื่อ) | |
ดำรงตำแหน่ง ค.ศ. ? – ค.ศ. 217 | |
กษัตริย์ | พระเจ้าเหี้ยนเต้ |
หัวหน้ารัฐบาล | โจโฉ |
นายทะเบียนประจำอัครมหาเสนาบดี (丞相主簿 เฉิงเซี่ยงจู่ปู้) | |
ดำรงตำแหน่ง ค.ศ. 208 – ค.ศ. ? | |
กษัตริย์ | พระเจ้าเหี้ยนเต้ |
หัวหน้ารัฐบาล | โจโฉ |
นายอำเภอยฺเหวียนเฉิง (元城令 ยฺเหวียนเฉิงลิ่ง) | |
ดำรงตำแหน่ง ค.ศ. ? – ค.ศ. ? | |
กษัตริย์ | พระเจ้าเหี้ยนเต้ |
นายอำเภอถางหยาง (堂陽長 ถางหยางจ่าง) | |
ดำรงตำแหน่ง ค.ศ. ? – ค.ศ. ? | |
กษัตริย์ | พระเจ้าเหี้ยนเต้ |
นายอำเภอเฉิงเกา (成皋令 เฉิงเกาลิ่ง) | |
ดำรงตำแหน่ง ค.ศ. 202 – ค.ศ. ? | |
กษัตริย์ | พระเจ้าเหี้ยนเต้ |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | ค.ศ. 171[a] อำเภอเวิน มณฑลเหอหนาน |
เสียชีวิต | ค.ศ. 217 (46 ปี)[a] เขตจฺวีเฉา นครเฉาหู มณฑลอานฮุย |
บุตร |
|
บุพการี |
|
ความสัมพันธ์ |
|
อาชีพ | ขุนนาง |
ชื่อรอง | ปั๋วต๋า (伯達) |
ซือหมา หล่าง[b] (จีน: 司馬朗, 714-760) ชื่อรอง ปั๋วต๋า เป็นขุนนางซึ่งอาศัยอยู่ในปลาย ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก ของจีน เป็นบุตรคนโตในบรรดาบุตรชายทั้งแปดของ สุมาหอง ขุนนางผู้ใหญ่ระหว่างรัชสมัยของ พระเจ้าเลนเต้ เขาถูกอธิบายว่าเป็นชายร่างสูงใหญ่ (ประมาณ 1.91 เมตร) ในปี ค.ศ. 189 เมื่อขุนศึก ตั๋งโต๊ะ เข้าควบคุมราชสำนักฮั่น ซือหมา หล่างหนีไปพร้อมกับครอบครัวและเดินทางกลับบ้านเกิด
ต่อมาในปี ค.ศ. 202 ซือหมา หล่างกลับเข้ารับราชการและเข้ารับราชการในราชสำนัก จากนั้นอยู่ภายใต้การควบคุมของขุนศึกโจโฉ
ดูเพิ่ม
[แก้]หมายเหตุ
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 ชีวประวัติซือหมา หล่างในจดหมายเหตุสามก๊กบันทึกว่าซือหมา หล่างเสียชีวิตขณะอายุ 47 ปี (ตามการนับอายุแบบเอเชียตะวันออก) ในศักราชเจี้ยนอัน (ค.ศ. 196-220) ปีที่ 22 ในรัชสมัยของพระเจ้าเหี้ยนเต้[1] เมื่คำนวณแล้วปีที่ซือหมา หล่างเกิดจึงควรเป็นปี ค.ศ. 171
- ↑ ชื่อสกุลของซือหมา หล่างคือ "ซือหม่า" คำว่า "หม่า" (馬) เป็นเสียงสาม (ใกล้เคียงกับเสียงเอกในภาษาไทย) อยู่หน้าชื่อตัว "หล่าง" (朗) ซึ่งเป็นเสียงสามเช่นกัน เมื่อพยางค์ที่มีเสียงสามอยู่ติดกัน 2 พยางค์ พยางค์ที่มีเสียงสามพยางค์แรกให้ออกเสียงเป็นเสียงสอง (เทียบเท่ากับเสียงจัตวาในภาษาไทย) คำว่า "หม่า" จึงออกเสียงเป็น "หมา"
อ้างอิง
[แก้]- ↑ (建安二十二年, ... 遇疾卒,時年四十七。) จดหมายเหตุสามก๊ก เล่มที่ 15.
บรรณานุกรม
[แก้]- ตันซิ่ว (ศตวรรษที่ 3). จดหมายเหตุสามก๊ก (ซานกั๋วจื้อ).
- เผย์ ซงจือ (ศตวรรษที่ 5). อรรถาธิบายจดหมายเหตุสามก๊ก (ซานกั๋วจื้อจู้).