ข้ามไปเนื้อหา

รายชื่อสถานีรถไฟ สายตะวันออกเฉียงเหนือ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก สถานีรถไฟหินดาษ)

รายชื่อสถานีรถไฟและที่หยุดรถไฟ สายตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นกลุ่มสถานีในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งมีการเดินรถอย่างหนาแน่น ประกอบด้วยส่วนทับซ้อนจากเส้นทางสายต่าง ๆ โดยรายชื่อสถานี มีดังนี้[1]

หมายเหตุ: ที่หยุดรถ หมายถึง สถานีรถไฟที่ไม่มีอาคารสถานีและนายสถานีประจำ แต่อาจมีที่พักผู้โดยสารและที่ขายตั๋วแบบไม่ใช้คอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจถูกยุบเลิกหรือตั้งใหม่ได้ ที่หยุดรถบางที่อาจไม่มีรถหยุดเลยแม้แต่รถธรรมดา สำหรับสถานีทุกแห่ง รถธรรมดาจะหยุดทุกสถานี

รถเร็ว จะหยุดเป็นบางสถานี รถด่วนและด่วนพิเศษ จะหยุดห่างขึ้นตามศักดิ์ของขบวน

รายชื่อสถานีรถไฟ

[แก้]

ช่วงกรุงเทพ (หัวลำโพง)—ชุมทางบ้านภาชี (กท.—ภช.)

[แก้]

ช่วงชุมทางบ้านภาชี—อุบลราชธานี (ภช.—อน.)

[แก้]
ชื่อสถานี / ที่หยุดรถ รหัสสถานี ระยะทางจาก กท. ชั้นสถานี
[2]
ที่ตั้ง หมายเหตุ
เลข ตัวย่อ ตำบล อำเภอ จังหวัด
ชุมทางบ้านภาชี - อุบลราชธานี
ชุมทางบ้านภาชี 1036 ภช. 89.95 กม. 1 ภาชี ภาชี พระนครศรีอยุธยา
สุดเขตทางสาม เริ่มทางคู่
หนองกวย 2001 นก. 94.62 กม. 4 ดอนหญ้านาง
เริ่มเขตทางคู่
หนองแซง 2002 นซ. 98.04 กม. 3 หนองควายโซ หนองแซง สระบุรี

เขตตำบลหนองควายโซและตำบลหนองแซง ใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือแบ่งเขต อาคารสถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ 7 บ้านตลาดหนองแซง ตำบลหนองควายโซ[3][4] ส่วนย่านทางหลีก (เดิม) อยู่ในเขตหมู่ 2 บ้านหนองแก ตำบลหนองแซง เข้าเขตจังหวัดสระบุรี

  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางหนองแซง (นตท.นซ.)
หนองสีดา 2003 นด. 103.34 กม. 4 หนองสีดา
บ้านป๊อกแป๊ก 2005 ปป. 107.65 กม. 3 โคกสว่าง เมืองสระบุรี
มีทางแยก หน่วยจ่ายน้ำมันทางรถไฟ บริษัท ท่อส่งปิโตรเลียมไทย จำกัด
สระบุรี 2007 ะร. 113.26 กม. 1 ปากเพรียว

เดิมชื่อ สถานีปากเพรียว , เคยมีทางแยกบ่อย่อยศิลาเขาคูบา และเขาเทเลอร์

  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางสระบุรี (นตท.ะร.)
ชุมทางหนองบัว 2009 นบ. 119.24 กม. 3 ตลิ่งชัน
มีโรงงานทำหมอนรองรางรถไฟคอนกรีตของบริษัทไทยพีคอนและอุตสาหกรรม , มีทาง Chord line ที่เป็นทางแยกออกขวาไปเชื่อมกับสายชุมทางคลองสิบเก้า - ชุมทางแกงคอย ที่สถานีชุมทางบ้านไผ่นาบุญ
ชุมทางแก่งคอย 2011 กค. 125.10 กม. 1 แก่งคอย แก่งคอย

มีทางแยกซ้ายไปทางตะวันออกเฉียงเหนือในเส้นทาง ชุมทางแก่งคอย - ลำนารายณ์ - ชุมทางบัวใหญ่ เชื่อมต่อกับเส้นทาง ชุมทางถนนจิระ - หนองคาย - ท่านาแล้ง ที่สถานีชุมทางบัวใหญ่ , มีทางรถไฟสาย ชุมทางคลองสิบเก้า - ชุมทางแก่งคอย ที่แยกจากเส้นทาง กรุงเทพฯ - ชุมทางฉะเชิงเทรา - ด่านพรมแดนบ้านคลองลึก หรือสายตะวันออกเหนือที่สถานีชุมทางคลองสิบเก้ามาเชื่อมบรรจบที่สถานีแห่งนี้ด้วย , สุดเขตทางคู่ ในเส้นทางชุมทางแก่งคอย - ชุมทางบัวใหญ่ ณ สถานีนี่

  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางแก่งคอย (นตท.กค.)
มาบกะเบา 2082 มบ. 134.30 กม. 3 ทับกวาง
มีโรงปูนตั้งอยู่บริเวณใกล้ๆสถานี
เข้าอุโมงค์ผาเสด็จ ยาว 5,408.69 เมตร
ผาเสด็จ 2083 ผด. 138.95 กม. 3 ทับกวาง แก่งคอย สระบุรี
เฉพาะรถสินค้า
เดิมมีแผนจะยกเลิกให้บริการรถโดยสารทุกขบวนตั้งแต่วันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2567 หลังจากสร้างรถไฟทางคู่ช่วงมาบกะเบา - ชุมทางถนนจิระ ช่วงมาบกะเบา - คลองขนานจิตร แต่เนื่องจากปัญหาการเก็บรายละเอียดของอุโมงค์ผาเสด็จและอุโมงค์หินลับ จึงได้เลื่อนการยกเลิกออกไปเป็นเดือนกันยายน 2567[5]
เข้าอุโมงค์หินลับ ยาวประมาณ 600 เมตร
หินลับ 2084 หล. 144.29 กม. 2 มวกเหล็ก มวกเหล็ก สระบุรี
เฉพาะรถสินค้า
เดิมมีแผนยกเลิกให้บริการรถโดยสารทุกขบวนตั้งแต่วันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2567 หลังจากสร้างรถไฟทางคู่ช่วงมาบกะเบา - ชุมทางถนนจิระ ช่วงมาบกะเบา -คลองขนานจิตร แต่เนื่องจากปัญหาการเก็บรายละเอียดของอุโมงค์ผาเสด็จและอุโมงค์หินลับ จึงได้เลื่อนการยกเลิกออกไปเป็นเดือนกันยายน 2567[5]
มวกเหล็กใหม่ - - 148.01 กม. -
เป็นสถานีในอนาคต ใช้ทดแทนสถานีรถไฟมวกเหล็กแห่งเดิม หลังจากสร้างรถไฟทางคู่ช่วงมาบกะเบา - ชุมทางถนนจิระ , มีการก่อสร้างเป็นทางคู่ยกระดับข้ามเมืองไปยังสถานีรถไฟกลางดง
มวกเหล็ก 2086 มล. 152.30 กม. 2 มิตรภาพ

ในอนาคตเมื่อสถานีมวกเหล็กแห่งใหม่สร้างเสร็จพร้อมกับทางคู่ยกระดับ สถานีมวกเหล็กแห่งเดิมนี้จะถูกรื้อออก, ตำบลมิตรภาพและตำบลมวกเหล็กใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือเป็นแนวแบ่งเขต ตัวอาคารสถานีจึงตั้งอยู่ในเขตตำบลมิตรภาพ ส่วนด้านทางหลีกอยู่ในเขตตำบลมวกเหล็ก

  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางมวกเหล็ก (นตท.มล.)
กลางดง 2088 าง. 160.03 กม. 3 กลางดง ปากช่อง นครราชสีมา
เข้าเขตจังหวัดนครราชสีมา, ตัวสถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ 12 บ้านกลางดง ตำบลกลางดง[6]
ปางอโศก 2089 โศ. 165.19 กม. 3
  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางปางอโศก (นตท.โศ.)
บันไดม้า 2091 ได. 173.64 กม. 3 ปากช่อง
ปากช่อง 2093 ปช. 179.93 กม. 1
  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางปากช่อง (นตท.ปช.)
ซับม่วง 2095 ซม. 187.89 กม. 3 จันทึก
จันทึก 2096 จท. 195.50 กม. 4
คลองขนานจิตร 2097 ขจ. 202.20 กม. 4
เดิมเป็นที่หยุดรถ และยกฐานะเป็นสถานีเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2496[7] ตั้งอยู่ริมเขื่อนลำตะคอง ด้านตรงข้ามกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2, สุดเขตทางคู่ในเส้นทาง ชุมทางบ้านภาชี - นครราชสีมา - อุบลราชธานี, มีการสร้างสถานีแห่งใหม่บริเวณด้านหลังสถานีเดิม โดยสถานีเดิมจะถูกรื้อออกและแทนที่ด้วยทางคู่ใหม่, มีการก่อสร้างอุโมงค์รถไฟแห่งที่ 3 ในโครงการก่อสร้างทางคู่ช่วง มาบกะเบา - ชุมทางถนนจิระ ระหว่างคลองขนานจิตร - คลองไผ่ ความยาว 1.4 กม.
คลองไผ่ 2100 คผ. 206.21 กม. 3 คลองไผ่ สีคิ้ว
ลาดบัวขาว 2101 ลข. 209.41 กม. 4 ลาดบัวขาว
บ้านใหม่สำโรง 2102 สำ. 214.90 กม. 4
หนองน้ำขุ่น 2103 นข. 218.27 กม. 4
สีคิ้ว 2105 สค. 223.79 กม. 2 สีคิ้ว
  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางสีคิ้ว (นตท.สค.)
โคกสะอาด 2106 อา. 228.99 กม. ที่หยุดรถ
เดิมเป็นที่หยุดรถ และยกฐานะเป็นสถานีเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2497[8] และยุบเป็นที่หยุดรถเหมือนเดิมเมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 2563
สูงเนิน 2107 สน. 233.87 กม. 3 สูงเนิน สูงเนิน
กุดจิก 2109 กจ. 241.15 กม. 3 กุดจิก
  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางกุดจิก (นตท.กจ.)
โคกกรวด 2111 คก. 249.94 กม. 4 โคกกรวด เมืองนครราชสีมา
ภูเขาลาด 2113 ขล. 257.44 กม. 4 บ้านใหม่
นครราชสีมา 2114 รส. 263.65 กม. 1 ในเมือง

มีโรงรถจักรนครราชสีมาตั้งอยู่ , มีทางรถไฟแยกไปกองบัญชาการช่วยรบที่ 2 (บชร.2) ปัจจุบันยังใช้งานอยู่

  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางนครราชสีมา (นตท.นร.)
ชุมทางถนนจิระ 2115 จร. 266.28 กม. 1
มีทางแยกไปสายอีสานเหนือ ในเส้นทาง ชุมทางถนนจิระ - หนองคาย - ท่านาแล้ง และในระหว่างทางจะมีทางรถไฟสาย ชุมทางแก่งคอย - ลำนารายณ์ - ชุมทางบัวใหญ่ ที่แยกจากเส้นทาง ชุมทางบ้านภาชี - อุบลราชธานี ที่สถานีชุมทางแก่งคอยมาเชื่อมบรรจบที่สถานีชุมทางบัวใหญ่อีกด้วย , เป็นสถานีสุดท้ายในเส้นทาง ชุมทางบ้านภาชี - อุบลราชธานี หรือสายอีสานใต้ ที่ใช้สัญญาณไฟสีชนิดบังคับด้วยคอมพิวเตอร์ และไฟสีชนิดบังคับด้วยแผงสวิตช์ หลังจากนี้จะใช้สัญญาณชนิดหางปลา บังคับด้วยสายลวด
บ้านพะเนา 2211 พเ. 276.35 กม. 3 พะเนา
บ้านพระพุทธ 2212 าท. 280.10 กม. ที่หยุดรถ พระพุทธ เฉลิมพระเกียรติ
เดิมเป็นที่หยุดรถชื่อ "บ้านพุทธ" และยกฐานะเป็นสถานีเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2496[9] และยุบเป็นที่หยุดรถเหมือนเดิมในภายหลัง
ท่าช้าง 2213 ชา. 285.40 กม. 3 ท่าช้าง
หนองมโนรมย์ 2215 มโ. 293.26 กม. 4 ทองหลาง จักราช
เขตตำบลทองหลาง อำเภอจักราชและตำบลท่าช้าง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ ใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือแบ่งเขต อาคารสถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ 7 บ้านหนองมโนรมย์ ตำบลทองหลาง[10][11] ส่วนย่านทางหลีกอยู่ในเขตตำบลท่าช้าง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ
จักราช 2217 จช. 300.15 กม. 2 จักราช
  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางจักราช (นตท.จช.)
บ้านหินโคน 2220 หโ. 309.75 กม. 4 หินโคน
หินดาษ 2222 ดา. 316.90 กม. 3 หินดาด ห้วยแถลง
ห้วยแถลง 2224 ถล. 325.65 กม. 2 ทับสวาย

เขตตำบลทับสวายและตำบลห้วยแถลง ใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือแบ่งเขต อาคารสถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ 8 บ้านสุขสันต์ ตำบลทับสวาย[12][13] ส่วนย่านทางหลีกอยู่ในเขตตำบลห้วยแถลง

  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางห้วยแถลง (นตท.ถล.)
หนองกระทิง 2227 ทง. 337.50 กม. 4 หนองกะทิง ลำปลายมาศ บุรีรัมย์
เข้าเขตจังหวัดบุรีรัมย์ , ตัวสถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ 1 บ้านหนองกะทิง ตำบลหนองกะทิง อำเภอลำปลายมาศ[14] โดยใช้ทางเกวียน (เดิม) แบ่งเขตกับตำบลกงรถ อำเภอห้วยแถลง โดยพื้นที่หลังสถานีบางส่วนอยู่ในเขตตำบลกงรถ[15]
ลำปลายมาศ 2229 ลำ. 345.70 กม. 2 ลำปลายมาศ
  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางลำปลายมาศ (นตท.ลำ.)
ทะเมนชัย 2231 มช. 354.85 กม. 3 ทะเมนชัย
บ้านแสลงพัน 2233 งพ. 363.30 กม. 4 แสลงพัน
เดิมเป็นที่หยุดรถ และยกฐานะเป็นสถานีเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2495[16]
บ้านหนองตาด 2234 ตา. 366.50 กม. 4 หนองตาด เมืองบุรีรัมย์
บุรีรัมย์ 2236 รย. 376.02 กม. 1 ในเมือง

มีทางรถไฟแยกไปลานหินเขากระโดง ปัจจุบันยังใช้งานอยู่

  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางบุรีรัมย์ (นตท.รย.)
บ้านตะโก 2237 ตโ. 380.35 กม. ที่หยุดรถ บ้านยาง
ห้วยราช 2239 หร. 385.51 กม. 2 ห้วยราชา ห้วยราช
เขตตำบลห้วยราชาและตำบลห้วยราช ใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือแบ่งเขต อาคารสถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ 9 บ้านห้วยราชา ตำบลห้วยราชา[17][18] ส่วนย่านทางหลีกอยู่ในเขตตำบลห้วยราช
กระสัง 2243 ะส. 398.65 กม. 2 กระสัง กระสัง
หนองเต็ง 2244 เต. 405.50 กม. 4 หนองเต็ง
เดิมชื่อสถานีบ้านหนองเต็ง
ลำชี 2246 ลช. 412.00 กม. 3 คอโค เมืองสุรินทร์ สุรินทร์
สุรินทร์ 2248 สร. 419.75 กม. 1 ในเมือง
  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางสุรินทร์ (นตท.สร.)
บุฤๅษี 2250 บุ. 428.60 กม. 4 บุฤๅษี
เมืองที 2252 อท. 437.16 กม. 4 เมืองที
กะโดนค้อ 2254 ดค. 445.50 กม. 4 ช่างปี่ ศีขรภูมิ
ศีขรภูมิ 2256 รภ. 452.39 กม. 2 ระแงง
  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางศีขรภูมิ (นตท.รภ.)
บ้านกะลัน 2258 ลน. 460.25 กม. 4 ยาง
ตัวสถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ 15 บ้านกะลัน (ตลาด) ตำบลยาง[19] โดยใช้ทางเกวียน (เดิม) แบ่งเขตกับตำบลนารุ่ง โดยพื้นที่บริเวณสถานีทั้งหมดอยู่ในเขตตำบลยาง[20]
สำโรงทาบ 2261 สบ. 471.00 กม. 2 หนองไผ่ล้อม สำโรงทาบ

ตัวสถานีอยู่ในเขตเทศบาลตำบลสำโรงทาบ[21] ซึ่งอยู่ในพื้นที่ของตำบลหนองไผ่ล้อม[22]

  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางสำโรงทาบ (นตท.สบ.)
ห้วยทับทัน 2264 ทท. 481.50 กม. 3 ห้วยทับทัน ห้วยทับทัน ศรีสะเกษ
หนองแคน 2266 หค. 489.04 กม. ที่หยุดรถ หนองห้าง อุทุมพรพิสัย
เคยเป็นสถานี ปัจจุบันลดระดับเป็นที่หยุดรถแล้ว
อุทุมพรพิสัย 2267 อุ. 494.45 กม. 2 กำแพง
บ้านแต้ 2268 แต. 498.27 กม. ที่หยุดรถ แต้
เคยเป็นสถานี ปัจจุบันลดระดับเป็นที่หยุดรถแล้ว
บ้านเนียม 2270 นเ. 504.00 กม. 4 ขะยูง
ศรีสะเกษ 2273 เก. 515.09 กม. 1 เมืองเหนือ เมืองศรีสะเกษ

เขตตำบลเมืองเหนือและตำบลเมืองใต้ ใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือแบ่งเขต อาคารสถานีตั้งอยู่ในเขตตำบลเมืองเหนือ[23][24] ส่วนย่านทางหลีกอยู่ในเขตตำบลเมืองใต้

  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางศรีสะเกษ (นตท.เก.)
เฉลิมกาญจนา 2276 522.28 กม. ที่หยุดรถ โพธิ์
หนองแวง 2277 อว. 527.19 กม. 4 โพนเขวา
บ้านคล้อ 2279 าค. 534.20 กม. 4 ดู่ กันทรารมย์
กันทรารมย์ 2281 าร. 542.18 กม. 2 ดูน
  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางกันทรารมย์ (นตท.าร.)
บ้านโนนผึ้ง 2283 นผ. 546.86 กม. ที่หยุดรถ โนนสัง
ห้วยขยุง 2285 ขย. 553.99 กม. 3 ห้วยขะยุง วารินชำราบ อุบลราชธานี
บ้านถ่อน 2286 บถ. 557.70 กม. ที่หยุดรถ ท่าลาด
บุ่งหวาย 2288 งห. 566.20 กม. 4 บุ่งหวาย
เคยมีทางแยกไปสถานีรถไฟบ้านโพธิ์มูล ปัจจุบันเลิกใช้งานแล้ว
อุบลราชธานี 2290 อน. 575.10 กม. 1 วารินชำราบ

สุดทางรถไฟสายอีสานใต้ที่สถานีนี้ และเป็นต้นทาง/ปลายทางของขบวนรถปูนซีเมนต์ของบริษัท ทีพีไอโพลีน จำกัด (มหาชน) ที่ 527/528 ระหว่างสถานีรถไฟอุบลราชธานี - สถานีรถไฟหินลับ

  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางอุบลราชธานี (นตท.อน.)

ชุมทางถนนจิระ—หนองคาย—คำสะหวาด (จร.—นค.—ลล.)

[แก้]
ชื่อสถานี / ที่หยุดรถ รหัสสถานี ระยะทางจาก กท. ชั้นสถานี
[25]
ที่ตั้ง หมายเหตุ
เลข ตัวย่อ ตำบล อำเภอ จังหวัด
ชุมทางถนนจิระ - หนองคาย - ท่านาแล้ง
ชุมทางถนนจิระ 2115 จร. 266.28 กม. 1 ในเมือง เมืองนครราชสีมา นครราชสีมา
เริ่มต้นทางคู่ ช่วงชุมทางถนนจิระ-ขอนแก่น
บ้านเกาะ 2117 กะ. 272.50 กม. 4 บ้านเกาะ
เดิมเป็นที่หยุดรถ และยกฐานะเป็นสถานีเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2496[26]
บ้านกระโดน 2120 กโ. 284.67 กม. 4 หนองไข่น้ำ
เคยเป็นสถานี ยุบเป็นที่หยุดรถเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2519[27] และยกฐานะเป็นสถานีเหมือนเดิม (ลำดับที่ 445) มี Container Yard (CY-ลานที่เก็บตู้คอนเทนเนอร์) และเป็นที่ตั้งโครงการท่าเรือบก (Dry Port)
บ้านหนองกันงา 2291 ก้. 288.12 กม. ป้ายหยุดรถ ด่านคล้า โนนสูง
หนองแมว 2121 นง. 289.79 กม. 4
โนนสูง 2122 นโ. 295.08 กม. 3 โนนสูง
  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางโนนสูง (นตท.นโ.)
บ้านดงพลอง 2124 ดพ. 302.19 กม. 4 หลุมข้าว
บ้านมะค่า 2126 มค. 308.20 กม. 4 มะค่า
เนินถั่วแปบ 2127 ถป. 311.38 กม. ที่หยุดรถ
พลสงคราม 2128 พค. 315.65 กม. 4 พลสงคราม
บ้านดอนใหญ่ 2129 ดญ. 320.35 กม. 4 ดอนใหญ่ คง
เดิมเป็นที่หยุดรถ และยกฐานะเป็นสถานีเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2497[8]
เมืองคง 2131 งค. 326.80 กม. 3 เมืองคง
  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางเมืองคง (นตท.งค.)
บ้านไร่ 2132 นไ. 333.67 กม. ที่หยุดรถ โนนทองหลาง บัวใหญ่
โนนทองหลาง 2133 นท. 335.71 กม. 4
เดิมเป็นที่หยุดรถ และยกฐานะเป็นสถานีเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2496[26]
ห้วยระหัด 2135 ยร. 342.50 กม. ที่หยุดรถ บัวใหญ่
เดิมเป็นที่หยุดรถ และยกฐานะเป็นสถานีเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2496[26] และยุบเป็นที่หยุดรถอีกครั้งเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2515[28]
ชุมทางบัวใหญ่ 2136 วญ. 345.50 กม. 1

เป็นย่านจุดพักเติมเชื้อเพลิง , มีทางรถไฟสาย ชุมทางแก่งคอย - ลำนารายณ์ - ชุมทางบัวใหญ่ ที่แยกจากเส้นทาง ชุมทางบ้านภาชี - นครราชสีมา - อุบลราชธานี มาเชื่อมบรรจบที่สถานีแห่งนี้ด้วย

  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางบัวใหญ่ (นตท.วญ.)
เนินสวัสดิ์ 2137 เว. 351.20 กม. ที่หยุดรถ
หนองบัวลาย 2139 งบ. 357.36 กม. 3 บัวลาย บัวลาย
ศาลาดิน 2140 ดิ. 362.43 กม. ป้ายหยุดรถ โนนจาน
หนองมะเขือ 2142 งอ. 370.04 กม. 4 หนองมะเขือ พล ขอนแก่น
เข้าเขตจังหวัดขอนแก่น, สถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ที่ 1 บ้านหนองมะเขือ ตำบลหนองมะเขือ[29]
เมืองพล 2144 อล. 377.66 กม. 2 เมืองพล
  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางหนองบัวลายที่เมืองพล (นตท.งบ.)
บ้านหัน 2149 าห. 396.82 กม. 4 บ้านหัน โนนศิลา

ตัวสถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ 1 บ้านหัน ตำบลบ้านหัน[30] โดยใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ แบ่งเขต[31] โดยพื้นที่บริเวณรางหลีก (เดิม) อยู่ในเขตตำบลโนนศิลา

  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางบ้านหัน (นตท.าห.)
บ้านไผ่ 2152 บผ. 407.72 กม. 1 บ้านไผ่ บ้านไผ่

หลังจากสร้างสถานีรถไฟชั้น 1 (พิเศษ) ยกระดับสถานีรถไฟบ้านไผ่ในโครงการรถไฟทางคู่ช่วงชุมทางถนนจิระ-ขอนแก่น สถานีมีพื้นที่ครอบคลุมในเขตตำบลในเมือง (ฝั่งตะวันออก) และตำบลบ้านไผ่ (ฝั่งตะวันตก)[32][33]โดยใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือเป็นเส้นแบ่งเขต, ในอนาคตจะมีรถไฟทางคู่สายบ้านไผ่ - นครพนมมาเชื่อมต่อที่สถานีแห่งนี้

  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางบ้านไผ่ (นตท.บผ.)
ในเมือง
บ้านแฮด 2156 ฮด. 423.60 กม. 4 บ้านแฮด บ้านแฮด
ท่าพระ 2160 พะ. 439.81 กม. 3 ท่าพระ เมืองขอนแก่น
ขอนแก่น 2163 ขอ. 449.75 กม. 1 ในเมือง

สถานีรถไฟชั้น 1 (พิเศษ) ยกระดับ , สิ้นสุดเขตทางคู่ช่วงชุมทางถนนจิระ-ขอนแก่น , สิ้นสุดการใช้อาณัติสัญญาณไฟสีที่สถานีนี้ , มีคลังน้ำมันด้านล่างสถานี

  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางขอนแก่น (นตท.ขอ.)
สำราญ 2166 าญ. 460.71 กม. 4 ศิลา
โนนพยอม 2170 พอ. 474.93 กม. 3 ม่วงหวาน น้ำพอง

เป็นย่านแหล่งขนถ่ายตู้สินค้าคอนเทนเนอร์ที่สถานีแห่งนี้ และมีโครงการก่อสร้างท่าเรือบก

  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางโนนพยอม (นตท.พอ.)
บ้านวังชัย 2171 วช. 480.45 กม. ที่หยุดรถ วังชัย
น้ำพอง 2172 อง. 484.21 กม. 2
เขตตำบลวังชัยและตำบลหนองกุง ใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือแบ่งเขต อาคารสถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ 11 บ้านประชานิมิตร ตำบลวังชัย[34][35] ส่วนย่านทางหลีก อยู่ในเขตหมู่ 1 บ้านหนองกุง ตำบลหนองกุง
  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางน้ำพอง (นตท.อง.)
ห้วยเสียว 2174 ยว. 489.95 กม. 4 น้ำพอง
เขตตำบลน้ำพองและตำบลหนองกุง ใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือแบ่งเขต อาคารสถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ 14 บ้านคำมืดใต้ ตำบลน้ำพอง[36][37] ส่วนย่านทางหลีก อยู่ในเขตหมู่ 5 บ้านนาเรียง ตำบลหนองกุง
เขาสวนกวาง 2177 สง. 500.51 กม. 3 เขาสวนกวาง เขาสวนกวาง
เขตตำบลเขาสวนกวางและตำบลคำม่วง ใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือแบ่งเขต อาคารสถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ 2 บ้านศรีชมชื่น ตำบลเขาสวนกวาง[38][39] ส่วนย่านทางหลีก อยู่ในเขตตำบลคำม่วง
โนนสะอาด 2181 โอ. 514.45 กม. 3 โนนสะอาด โนนสะอาด อุดรธานี
เข้าเขตจังหวัดอุดรธานี 
  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางโนนสะอาด (นตท.โอ.)
ห้วยเกิ้ง 2183 ยก. 523.40 กม. 3 ห้วยเกิ้ง กุมภวาปี
กุมภวาปี 2186 วป. 532.50 กม. 2 พันดอน
ห้วยสามพาด 2188 หพ. 542.75 กม. 4 ห้วยสามพาด ประจักษ์ศิลปาคม
หนองตะไก้ 2190 งต. 550.65 กม. 3 หนองไผ่ เมืองอุดรธานี

เป็นย่านแหล่งขนถ่ายตู้สินค้าคอนเทนเนอร์ที่สถานีแห่งนี้

  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางหนองตะไก้ (นตท.งต.)
คำกลิ้ง 2193 ลค. 562.05 กม. ที่หยุดรถ บ้านจั่น

เขตตำบลบ้านจั่นและตำบลหนองขอนกว้าง ใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือแบ่งเขต อาคารสถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ 7 บ้านดงเด็ง ตำบลบ้านจั่น[40][41] ส่วนย่านทางหลีก (เดิม) อยู่ในเขตตำบลหนองขอนกว้าง}

เคยเป็นสถานี ยุบเป็นที่หยุดรถเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2528[42]
หนองขอนกว้าง 2194 ออ. 565.40 กม. 3 หนองขอนกว้าง
เดิมเป็นที่หยุดรถ ยกฐานะเป็นสถานีในวันที่ 1 ธันวาคม 2495[43] ตั้งอยู่ในเขตค่ายทหาร , มีศูนย์จ่ายปูนซีเมนต์ TPI ที่สถานีแห่งนี้ และเป็นต้นทาง/ปลายทางของขบวนรถปูนซีเมนต์ของบริษัท ทีพีไอโพลีน จำกัด (มหาชน) ที่ 517/518 และ 519/520 ระหว่างสถานีรถไฟหนองขอนกว้าง- สถานีรถไฟหินลับ
อุดรธานี 2195 รด. 568.84 กม. 1 หมากแข้ง
  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางอุดรธานี (นตท.รด.)
นาพู่ 2200 ภู. 593.00 กม. 4 นาพู่ เพ็ญ
มีฐานะเป็นที่หยุดรถมาตั้งแต่แรกในปี พ.ศ. 2498 และยุบเลิกในปี พ.ศ. 2541 (นาภู่เดิมสะกดด้วย ภ.) การตั้งและเปิดใช้สถานีรถไฟนาพู่ เป็นหนึ่งในโครงการปรับปรุงทางรถไฟระยะที่ 6 จากชุมทางถนนจิระ-ชุมทางบัวใหญ่-หนองคาย ระยะทาง 278 กิโลเมตร ซึ่งระหว่างสถานีอุดรธานี-สถานีนาทา มีระยะห่าง 49 กิโลเมตร มีที่หยุดรถ 3 จุด แต่ไม่มีสถานีในการจัดหลีกขบวนรถ ร.ฟ.ท. จึงได้ผนวกที่หยุดรถทั้ง 3 จุด จัดตั้งเป็นสถานีขึ้นใหม่อีก 1 สถานี เป็นสถานีนาพู่ โดยเป็นจุดศูนย์กลางระหว่างสถานีอุดรธานี กับสถานีนาทา เพื่อใช้ในการจัดหลีกขบวนรถและลดความล่าช้าของขบวนรถ พร้อมทั้งอำนวยความสะดวกให้กับประชาชนในพื้นที่ใกล้เคียง ได้ใช้รถไฟเป็นพาหนะในการเดินทาง และรองรับการขนส่งด้านเศรษฐกิจในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่คาดว่าจะมีแนวโน้มขยายตัวเพิ่มขึ้น เปิดใช้อาคารสถานีอย่างเป็นทางการในวันที่ 16 มีนาคม 2558[44]
นาทา 2207 ยน. 617.84 กม. 4 หนองกอมเกาะ เมืองหนองคาย หนองคาย

เดิมเป็นที่ตั้งของสถานี "หนองคาย" ได้แปรสภาพเป็นสถานี "นาทา"[45] ในวันที่ 10 มกราคม 2501เนื่องจากสถานีหนองคายได้ย้ายไปตั้งที่ กม. 624 แทน

  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางนาทา (นตท.ยน.)
หนองคาย 2208 นค. 621.10 กม. 1 มีชัย
สุดทางรถไฟสายอีสานเหนือที่สถานีนี้ และเป็นสถานีรถไฟสุดท้ายในเขตประเทศไทย ก่อนเข้าสู่เขตประเทศลาวที่สถานีรถไฟท่านาแล้ง , มือคันกลับประแจแบบประแจกลสายลวด-สัญญาณไฟสี แต่ไม่มีลวดโยงนอกสถานี , มีทางแยกไปตลาดหนองคาย ซึ่งปัจจุบันถูกยกเลิกใช้งานแล้ว
สะพานมิตรภาพ ไทย-ลาว แห่งที่ 1 ชายแดนไทย-ลาว กม. 623+756.00
ท่านาแล้ง 7201 ลล. 627.25 กม. 2 บ้านดงโพสี หาดทรายฟอง นครหลวงเวียงจันทน์
สถานีรถไฟแรกของ สปป.ลาว
คำสะหวาด 635.06 กม. 1 บ้านคำสะหวาด ไชยเชษฐา
สิ้นสุดรถไฟไทย - ลาว

ชุมทางแก่งคอย—ชุมทางบัวใหญ่ (กค.—วญ.)

[แก้]

ทางรถไฟสายชุมทางแก่งคอย-ชุมทางบัวใหญ่ เดิมเรียก ทางรถไฟเลียบลำน้ำป่าสัก[46] เป็นเส้นทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง โดยเริ่มตั้งแต่อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี ไปจนถึงอำเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา

ชื่อสถานี / ที่หยุดรถ รหัสสถานี ระยะทางจาก กท. ชั้นสถานี
[47]
ที่ตั้ง หมายเหตุ
เลข ตัวย่อ ตำบล อำเภอ จังหวัด
ชุมทางแก่งคอย - ชุมทางบัวใหญ่
ชุมทางแก่งคอย 2011 กค. 125.10 กม. 1 แก่งคอย แก่งคอย สระบุรี
ตรงไปในเส้นทางเดิม คือ สายอีสานใต้ สุดเส้นทางที่สถานีอุบลราชธานี , มีทางรถไฟสาย ชุมทางคลองสิบเก้า - ชุมทางแก่งคอย ที่แยกจากเส้นทาง กรุงเทพฯ - ชุมทางฉะเชิงเทรา - ด่านพรมแดนบ้านคลองลึก หรือสายตะวันออกเหนือที่สถานีชุมทางคลองสิบเก้ามาเชื่อมบรรจบที่สถานีแห่งนี้ด้วย
บ้านช่องใต้ 2012 ชต. 128.80 กม. 3 บ้านป่า
เขาคอก 2013 ขก. 134.37 กม. ที่หยุดรถ ท่าตูม
เคยเป็นสถานี ยุบเป็นที่หยุดรถเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2528[48]
เขาหินดาด 2015 ดด. 141.85 กม. ที่หยุดรถ ท่าคล้อ
เปิดเมื่อ 20 กันยายน 2502
หินซ้อน 2017 หซ. 147.90 กม. 4 หินซ้อน
  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางหินซ้อน (นตท.หซ.)
เขาสูง 2018 ขส. 152.30 กม. ที่หยุดรถ
แก่งเสือเต้น 2020 แส. 159.65 กม. 4 หนองบัว พัฒนานิคม ลพบุรี
เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ 2301 ขธ. 162.38 กม. ที่หยุดรถ
ลงที่นี่สามารถเดินเข้าไปที่เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ได้, ขบวนรถด่วนดีเซลรางที่ 75/76 (กรุงเทพ-หนองคาย-กรุงเทพ) จะหยุดรับส่งผู้โดยสารในวันเสาร์ อาทิตย์ และวันหยุดราชการ, ช่วงเดือนพฤศจิกายน-มกราคม จะมีขบวนรถนำเที่ยวเขื่อนป่าสักชลสิทธ์มาจอดที่นี่
บ้านหนองบัว 2022 าบ. 165.96 กม. ที่หยุดรถ
โคกสลุง 2024 คุ. 176.55 กม. 4 โคกสลุง
ตั้งอยู่ริมเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์, ช่วงเดือนพฤษจิกายน-มกราคม จะมีขบวนรถนำเที่ยวเขื่อนป่าสักชลสิทธ์มาจอดที่นี่
  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางโคกสลุง (นตท.คุ.)
สุรนารายณ์ 2026 ะน. 185.80 กม. 4 ม่วงค่อม ชัยบาดาล
เดิมชื่อว่า "สุระนารายณ์",ตั้งชื่อสถานีตามชื่อของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 205 สายบ้านหมี่–สามแยกสุรนารายณ์ (ถนนสุรนารายณ์) ซึ่งอยู่ห่างจากสถานีเพียง 0.94 กิโลเมตร และห่างจากแยกม่วงค่อม ในทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 21 สายสามแยกพุแค – เลย เพียง 2.9 กิโลเมตร
โรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ 2028 193.93 กม. ที่หยุดรถ ห้วยหิน
เขายายกะตา 2030 เย. 198.95 กม. ที่หยุดรถ ชัยนารายณ์
เคยเป็นสถานี ยุบเป็นที่หยุดรถเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2519[27]
ตลาดลำนารายณ์ 2032 รน. 207.38 กม. ที่หยุดรถ
ลำนารายณ์ 2033 ลา. 208.80 กม. 3 ลำนารายณ์

เขตตำบลลำนารายณ์และตำบลชัยนารายณ์ ใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือแบ่งเขต อาคารสถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ 10 บ้านรถไฟพัฒนา ตำบลลำนารายณ์[49][50] ส่วนย่านทางหลีกอยู่ในเขตตำบลชัยนารายณ์

  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางลำนารายณ์ (นตท.ลา.)
บ้านเกาะรัง 2036 รง. 220.35 กม. ที่หยุดรถ เกาะรัง
แผ่นดินทอง 2038 แง. 226.45 กม. 4 หนองยายโต๊ะ
บ้านจงโก 2040 จโ. 236.65 กม. ที่หยุดรถ หนองรี ลำสนธิ
โคกคลี 2042 คี. 240.87 กม. 3
  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางโคกคลี (นตท.คี.)
เข้าอุโมงค์เขาพังเหย ยาว 230.60 เมตร กม.ที่ 248.80-249.03
ช่องสำราญ 2045 อช. 250.64 กม. 3 วะตะแบก เทพสถิต ชัยภูมิ
บ้านวะตะแบก (เทพสถิต) 2049 แบ. 263.14 กม. 3
  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางบ้านวะตะแบก (นตท.แบ.)
ห้วยยายจิ๋ว 2052 จย. 273.13 กม. 3 ห้วยยายจิ๋ว
บ้านปากจาบ 2054 จบ. 279.97 กม. ที่หยุดรถ โคกเพชรพัฒนา บำเหน็จณรงค์
เคยเป็นสถานี ยุบเป็นที่หยุดรถเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2519[51]
บำเหน็จณรงค์ 2057 าจ. 290.53 กม. 2 บ้านเพชร
  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางบำเหน็จณรงค์ (นตท.าจ.)
บ้านกลอย 2058 ย้. 293.25 กม. ป้ายหยุดรถ
วังกะอาม 2059 วอ. 297.30 กม. ที่หยุดรถ บ้านตาล
เปิดเป็นที่หยุดรถในวันที่ 1 ธันวาคม 2514[52]
โนนคร้อ 2060 น้. 302.10 กม. ที่หยุดรถ บ้านขาม จัตุรัส
เป็นที่หยุดรถตั้งแต่แรก ต่อมาได้ยกขึ้นเป็นสถานี ปัจจุบันลดระดับเป็นที่หยุดรถเหมือนเดิม
จัตุรัส 2062 จต. 310.19 กม. 2 บ้านกอก

ลงสถานีนี้สามารถเดินทางไปสู่ตัวเมืองชัยภูมิประมาณ 40 กิโลเมตร

  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางจัตุรัส (นตท.จต.)
หนองฉิม 2066 ฉม. 322.85 กม. 4 หนองฉิม เนินสง่า
บ้านตาเนิน 2068 บต. 330.15 กม. ที่หยุดรถ ตาเนิน
บ้านหนองขาม 2069 บ้. 334.05 กม. ที่หยุดรถ
บ้านเหลื่อม 2072 นเ. 341.18 กม. 3 บ้านเหลื่อม บ้านเหลื่อม นครราชสีมา

เข้าเขตจังหวัดนครราชสีมา, เขตตำบลบ้านเหลื่อมและตำบลวังโพธิ์ ใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือแบ่งเขต อาคารสถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ 2 บ้านตลาดบ้านเหลื่อม ตำบลบ้านเหลื่อม[53][54] ส่วนย่านทางหลีกอยู่ในเขตตำบลวังโพธิ์และตำบลโคกกระเบื้อง

  • ฝ่ายการช่างโยธา
    • ที่ทำการนายตรวจทางบ้านเหลื่อม (นตท.นเ.)
บ้านโคกกระเบื้อง 2073 ะอ. 346.16 กม. ที่หยุดรถ โคกกระเบื้อง
บ้านหนองปรือโป่ง 2075 นป. 351.83 กม. ที่หยุดรถ
หนองพลวง 2076 งว. 355.19 กม. 4 หนองบัวสะอาด บัวใหญ่
บ้านกระพี้ 2303 พี. 358.20 กม. ที่หยุดรถ
บ้านเก่างิ้ว 2077 งิ. 360.17 กม. ป้ายหยุดรถ
บ้านสระครก 2078 ะค. 362.14 กม. ที่หยุดรถ
บ้านโสกรัง 2079 บั. 366.50 กม. ที่หยุดรถ
ชุมทางบัวใหญ่ 2136 วญ. 375.90 กม. 1 บัวใหญ่
เป็นย่านจุดพักเติมเชื้อเพลิง , เชื่อมบรรจบกับเส้นทาง ชุมทางถนนจิระ - หนองคาย - ท่านาแล้ง หรือสายอีสานเหนือที่สถานีแห่งนี้ด้วย

อ้างอิง

[แก้]
  1. "รายชื่อสถานีรถไฟและที่หยุดรถ สายตะวันออกเฉียงเหนือ". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-10-26. สืบค้นเมื่อ 2009-10-26.
  2. "ปรับปรุงระดับชั้นสถานีใหม่ บ้านใครอยู่สถานีชั้นอะไรบ้าง". Nickle Paatour. สืบค้นวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567
  3. "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลหนองควายโซ อำเภอหนองแซง จังหวัดสระบุรี". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
  4. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การกำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภอหนองแซง จังหวัดสระบุรี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 114 (ตอนพิเศษ 85 ง): 187–216. วันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2540
  5. 5.0 5.1 "รฟท.เลื่อนเปิดอุโมงค์ผาเสด็จและอุโมงค์หินลับเป็นเดือน ก.ย. ล้างฝุ่นแล้วแต่เหลือกลิ่นควันเครื่องยนต์". ผู้จัดการออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 13 สิงหาคม 2567. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  6. "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลกลางดง อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2565
  7. "คำสั่งยกที่หยุดรถคลองขนานจิตร เป็นสถานีทางสะดวก มีหลีกยาว 504.56 เมตร". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-02-14. สืบค้นเมื่อ 2023-02-14. วันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2496
  8. 8.0 8.1 "คำสั่งยกที่หยุดรถดอนใหญ่ และ โคกสะอาด เป็นสถานีไม่มีทางสะดวก". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-02-14. สืบค้นเมื่อ 2023-02-14. วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2497
  9. "คำสั่งยกที่หยุดรถบ้านพุทธเป็นสถานี". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2496
  10. "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลทองหลาง อำเภอจักราช จังหวัดนครราชสีมา". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
  11. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การกำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภอจักราช จังหวัดนครราชสีมา" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 115 (ตอนพิเศษ 115 ง): 84–117. วันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2541
  12. "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลทับสวาย อำเภอห้วยแถลง จังหวัดนครราชสีมา". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
  13. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การกำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภอห้วยแถลง จังหวัดนครราชสีมา" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 115 (ตอนพิเศษ 119 ง): 85–111. วันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2541
  14. "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลหนองกะทิง อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2565
  15. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ตั้งและเปลี่ยนแปลงเขตตำบลในท้องที่อำเภอเมืองนครราชสีมา อำเภอครบุรี อำเภอสูงเนิน อำเภอห้วยแถลง อำเภอคง อำเภอด่านขุนทด และอำเภอโนนไทย จังหวัดนครราชสีมา" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 88 (120 ง): 3100–3136. วันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514
  16. "คำสั่งยกที่หยุดรถบ้านแสลงพัน เป็นสถานีทางสะดวก มีหลีกยาว 501.10 เมตร". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-02-14. สืบค้นเมื่อ 2023-02-14. วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2495
  17. "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลห้วยราชา อำเภอห้วยราช จังหวัดบุรีรัมย์". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
  18. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การกำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภอห้วยราช จังหวัดบุรีรัมย์" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 115 (ตอนพิเศษ 98 ง): 292–325. วันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2541
  19. "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลยาง อำเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2565
  20. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ตั้งและเปลี่ยนแปลงเขตตำบลในท้องที่อำเภอศีขรภูมิ อำเภอปราสาท อำเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 98 (49 ง): 912–927. วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2524
  21. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งสุขาภิบาลสำโรงทาบ อำเภอสำโรงทาบ จังหวัดสุรินทร์" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 80 (35 ง): 1001–1002. วันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2506
  22. "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลหนองไผ่ล้อม อำเภอสำโรงทาบ จังหวัดสุรินทร์". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2565
  23. "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลเมืองเหนือ อำเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
  24. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การกำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 114 (ตอนพิเศษ 96 ง): 1–39. วันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2540
  25. "ปรับปรุงระดับชั้นสถานีใหม่ บ้านใครอยู่สถานีชั้นอะไรบ้าง". Nickle Paatour. สืบค้นวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567
  26. 26.0 26.1 26.2 "คำสั่งยกที่หยุดรถบ้านเกาะ กุดกว้าง ดงทองหลาง บ้านกระนวน ห้วยระหัด โจดหนองแก หนองเม็ก สายหนองคายฯ เป็นสถานีไม่มีทางสะดวก". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-02-14. สืบค้นเมื่อ 2023-02-14. วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2496
  27. 27.0 27.1 "ตั้งแต่วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2519 เนื่องจากหมดความจำเป็นในด้านการเดินรถและการพาณิชย์ ฉะนั้น ให้ยุบสถานีต่าง ๆ เป็นที่หยุดรถ (ประกาศ ณ วันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2519)". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2519
  28. "ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2516 เนื่องจากหมดความจำเป็นในด้านการเดินรถและการพาณิชย์ ฉะนั้น ให้ยุบสถานีต่าง ๆ เป็นที่หยุดรถ (ประกาศ ณ วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2515)". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2515
  29. "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลหนองมะเขือ อำเภอพล จังหวัดขอนแก่น". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
  30. "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลบ้านหัน อำเภอโนนศิลา จังหวัดขอนแก่น". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
  31. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การกำหนดเขตตำบลในท้องที่กิ่งอำเภอโนนศิลา จังหวัดขอนแก่น" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 115 (ตอนพิเศษ 121 ง): 263–272. วันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2541
  32. "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในเทศบาลตำบลบ้านไผ่ (ตำบลในเมืองและตำบลบ้านไผ่) อำเภอบ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
  33. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การกำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภอบ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 116 (ตอนพิเศษ 27 ง): 1–26. วันที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2542
  34. "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลวังชัย อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
  35. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การกำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 116 (ตอนพิเศษ 27 ง): 27–57. วันที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2542
  36. "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลน้ำพอง อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
  37. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การกำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 116 (ตอนพิเศษ 27 ง): 27–57. วันที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2542
  38. "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลเขาสวนกวาง อำเภอเขาสวนกวาง จังหวัดขอนแก่น". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
  39. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การกำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภอเขาสวนกวาง จังหวัดขอนแก่น" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 115 (ตอนพิเศษ 121 ง): 172–187. วันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2541
  40. "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลบ้านจั่น อำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
  41. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การกำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 116 (ตอนพิเศษ 27 ง): 140–258. วันที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2542
  42. "ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2528 เนื่องจากหมดความจำเป็นในด้านการเดินรถและการพาณิชย์ ฉะนั้น ให้ยุบสถานีต่าง ๆ เป็นที่หยุดรถ (ณ สมุดเลขรหัส แทนชื่อสถานีและที่หยุดรถ เริ่มใช้วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2522)". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2528
  43. "คำสั่งยกที่หยุดหนองขอนกว้าง เป็นสถานีทางสะดวก มีหลีกยาว 200 เมตร รางตันยาว 54 เมตร". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-02-14. สืบค้นเมื่อ 2023-02-14. วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2495
  44. "การรถไฟแห่งประเทศไทย พิธีเปิดอาคารสถานีรถไฟนาพู่ ณ สถานีรถไฟนาพู่ ตำบลนาพู่ อำเภอเพ็ญ จังหวัดอุดรธานี". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2558
  45. "คำสั่งเปิดที่หยุดรถหนองคาย ที่ กม. 624 พร้อมท่าแพขนานยนต์อย่างไม่เป็นทางการ ส่วนสถานีหนองคาย ให้แปรสภาพเป็น สถานีนาทา". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-02-14. สืบค้นเมื่อ 2023-02-14. วันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2501
  46. "พระราชกฤษฎีกา กำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืนเพื่อสร้างทางรถไฟสายเลียบลำน้ำป่าสัก พุทธศักราช 2487" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 61 (79): 1261. 31 ธันวาคม 2487.
  47. "ปรับปรุงระดับชั้นสถานีใหม่ บ้านใครอยู่สถานีชั้นอะไรบ้าง". Nickle Paatour. สืบค้นวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567
  48. "ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2528 เนื่องจากหมดความจำเป็นในด้านการเดินรถและการพาณิชย์ ฉะนั้น ให้ยุบสถานีต่าง ๆ เป็นที่หยุดรถ (ณ สมุดเลขรหัส แทนชื่อสถานีและที่หยุดรถ เริ่มใช้วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2522)". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2528
  49. "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลลำนารายณ์ อำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
  50. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การกำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 115 (ตอนพิเศษ 60 ง): 148–194. วันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2541
  51. "ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2520 เนื่องจากหมดความจำเป็นในด้านการเดินรถและการพาณิชย์ ฉะนั้น ให้ยุบสถานีต่าง ๆ เป็นที่หยุดรถ (ประกาศ ณ วันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2519)". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2519
  52. "ด้วยการรถไฟฯได้จัดสร้างที่หยุดรถขึ้นที่ กม.297/30 ระหว่างสถานีบำเหน็จณรงค์ กับสถานีโนนคร้อ ในทางสายลำนารายณ์ แต่ที่หยุดรถดังกล่าวยังไม่มีชื่อ จึงได้ตั้งชื่อที่หยุดรถที่สร้างขึ้นใหม่ตามที่กระทรวงมหาดไทยเห็นชอบ ทั้งนี้ตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม 2514". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-02-14. สืบค้นเมื่อ 2023-02-14. วันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2508
  53. "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลบ้านเหลื่อม อำเภอบ้านเหลื่อม จังหวัดนครราชสีมา". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
  54. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การกำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภอบ้านเหลื่อม จังหวัดนครราชสีมา" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 115 (ตอนพิเศษ 115 ง): 206–214. วันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2541