สถานีย่อย:วิทยาศาสตร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

สารานุกรมวิทยาศาสตร์

สารานุกรมวิทยาศาสตร์ในวิกิพีเดียไทย เป็นสารานุกรมรวบรวมเรื่องราวในด้านวิทยาศาสตร์ในรูปแบบสถานีย่อย กล่าวคือเป็นหน้าต่างของการเรียนรู้ในด้านวิทยาศาสตร์ที่ถูกเขียนขึ้นในภาษาไทย ข้อมูลในสารานุกรมวิทยาศาสตร์เป็นข้อมูลเสรี อนุญาตให้แจกจ่าย ทำซ้ำ หรือดัดแปลง ส่วนใดส่วนหนึ่งหรือทั้งหมดได้เสรีตามเงื่อนไขเอกสารเสรีของกนู โดยไม่สงวนลิขสิทธิ์

วิทยาศาสตร์ หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่างๆในธรรมชาติทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต รวมทั้งกระบวนการประมวลความรู้เชิงประจักษ์ ที่เรียกว่ากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และกลุ่มขององค์ความรู้ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าวการศึกษาในด้านวิทยาศาสตร์ยังถูกแบ่งย่อยออกเป็น วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ และ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ ดูเพิ่ม...

ภาพคัดเลือก
บรีดดิงฮาร์ต Dicentra spectabilis ดอกไม้ในลักษณะรูปหัวใจถูกกรีด


บทความแนะนำ
อนุมูลอิสระในปฏิกิริยาเคมี

อนุมูลอิสระ (อังกฤษ: radical และมีการใช้ free radical) หมายถึง สารซึ่งมีอิเล็กตรอนซึ่งไม่มีคู่อยู่ในวงรอบของอะตอม หรือโมเลกุล เราให้ความสำคัญกับสารซึ่งมีออกซิเจนเป็นศูนย์กลาง คือ hydroxyl radical, superoxide, peroxyl, alkoxyl และ oxides ของ nitrogen โดยปกติสารเหล่านี้เกิดขึ้นโดยปฏิกิริยาในร่างกายอยู่แล้ว โดยเฉพาะเวลามีธาตุเหล็ก ทองแดง แมงกานีส โคบอลต์ โครเมียม นิเกิล อยู่เป็นจำนวนน้อยๆ มักเกิดเป็นปฏิกิริยาลูกโซ่และร่างกายก็จะมีระบบของแอนติออกซิแด้นท์ขจัดออกไป แต่ถ้าร่างกายได้รับสารอนุมูลอิสระจากภายนอกมากเกินไป ตัวอย่างเช่น ได้รับจากอาหารบางชนิด จากขบวนการประกอบอาหาร เช่น การย่างเนื้อสัตว์ที่มีส่วนประกอบของไขมันสูง การนำน้ำมันที่ใช้ทอดอาหารที่อุณหภูมิสูงๆ มาใช้อีก หรือจากสิ่งแวดล้อม เช่น แสงอาทิตย์ซึ่งมีรังสี ultraviolet การแผ่รังสี (radiation) รังสี x-ray หรือจากมลพิษ เช่น ควันบุหรี่ ก๊าซจากท่อไอเสียรถยนต์ ถ้าสารเหล่านี้มีมากกว่าความสามารถของแอนตี้ออกซิแด้นท์ในร่างกายจะขจัดหมด หรือในภาวะที่จำนวนแอนติออกซิแด้นท์ในร่างกายลดลง เช่น ผู้สูงอายุ ก็จะทำให้มีสารอนุมูลอิสระและสารที่ไม่ใช่อนุมูลอิสระเช่น ไฮโดเจนเพอออกไซด์ ซึ่งมีออกซิเจนเป็นศูนย์กลางเช่นกัน โดยรวมเรียกว่า reactive oxygen species (ROS) มากเกินไปก่อให้เกิดอันตรายได้ ดูเพิ่ม...


หัวข้อที่สำคัญ

คณิตศาสตร์ : ความน่าจะเป็น · แคลคูลัส · จำนวน · ตรรกศาสตร์ · ตรีโกณมิติ · ทฤษฎีกราฟ · พีชคณิต · เรขาคณิต · สถิติศาสตร์

เคมี : เคมีฟิสิกส์ · เคมีวิเคราะห์ · เคมีอนินทรีย์ · เคมีอินทรีย์ · ชีวเคมี · ตารางธาตุ · พันธะเคมี · วัสดุศาสตร์ · อะตอม · อุณหเคมี

ชีววิทยา : จุลชีววิทยา · นิเวศวิทยา · บรรพชีวินวิทยา · ปรสิตวิทยา · พฤกษศาสตร์ · พันธุศาสตร์ · โภชนาการ · สัตววิทยา · อณูชีววิทยา · อนุกรมวิธาน

ฟิสิกส์: กลศาสตร์ · พลศาสตร์ · พลังงาน · ฟิสิกส์อะตอม โมเลกุล และทัศนศาสตร์ · ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า · ทฤษฎีสัมพัทธภาพ · อุณหพลศาสตร์

ดาราศาสตร์: เอกภพ · ดาราจักร · ระบบสุริยะ · ดาวฤกษ์ · ดาวเคราะห์ · ดาวเคราะห์น้อย · สุริยุปราคา · ดวงอาทิตย์ · ฟิสิกส์ดาราศาสตร์ · การสำรวจอวกาศ

วิทยาศาสตร์โลก: นิเวศวิทยา · ภูมิศาสตร์ · ธรณีวิทยา · ธรณีสัณฐานวิทยา · วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม · ไฟ · น้ำ · ปรากฏการณ์โลกร้อน

วิทยาศาสตร์ประยุกต์ : เกษตรกรรม · นาโนเทคโนโลยี · นิติวิทยาศาสตร์ · วิทยาศาสตร์การกีฬา · วิศวกรรมศาสตร์ · เทคโนโลยี · โทรคมนาคม · สถาปัตยกรรม · สารสนเทศ

วิทยาศาสตร์สุขภาพ : ทันตกรรม · พยาบาล · แพทยศาสตร์ · เภสัชกรรม · สาธารณสุข · สัตวแพทยศาสตร์ · ระบาดวิทยา

คอมพิวเตอร์ : อินเทอร์เน็ต · อีเมล · เครือข่าย · วิทยาการคอมพิวเตอร์ · ซอฟต์แวร์เสรี · ไวรัสคอมพิวเตอร์

รู้ไหมว่า...
คุณช่วยเราได้

นี่คือส่วนหนึ่งที่ คุณทำได้ คุณสามารถมีส่วนร่วมในสารานุกรมวิทยาศาสตร์ได้ อย่าลังเล!

"วิทยาศาสตร์" ในโครงการอื่น
วิกิพจนานุกรม
หาความหมาย
วิกิคำคม
คำคม
วิกิตำรา
หนังสือ
วิกิซอร์ซ
ค้นแหล่งเอกสาร
วิกิข่าว
เนื้อหาข่าว
คอมมอนส์
ภาพและสื่อ


หมวดหมู่

สถานีย่อยอื่น