ปรัชญาน (โรเวอร์)
ปรัชญาน | |
---|---|
ปรัชญาน ติดบนแรมป์ของแลนเดอร์ของจันทรยาน~2 | |
ประเภทภารกิจ | ลูนาร์โรเวอร์ |
ผู้ดำเนินการ | ISRO |
ระยะภารกิจ |
|
ข้อมูลยานอวกาศ | |
ผู้ผลิต | ISRO |
มวลหลังการลงจอด |
|
ขนาด | 0.9 × 0.75 × 0.85 m (3.0 × 2.5 × 2.8 ft) |
กำลังไฟฟ้า | 50 W จาก แผงพลังสุริยะ |
เริ่มต้นภารกิจ | |
วันที่ส่งขึ้น | |
จรวดนำส่ง | LVM3 M1, LVM3 M4 |
ฐานส่ง | SDSC ฐานปล่อยที่สอง |
ผู้ดำเนินงาน | ISRO |
ตำแหน่งปล่อยตัว | วิกรม |
วันที่ปล่อยตัว | จันทรยาน-2: ตั้งใจว่า: 7 กันยายน 2019[2] Result: Never deployed from destroyed lander.[3] จันทรยาน-3: 23 สิงหาคม 2023[4] |
ยานสำรวจ ดวงจันทร์ | |
วันที่ลงจอด | 6 กันยายน 2019, 20:00-21:00 UTC[5] |
ตำแหน่งลงจอด | พยายามลงจอด: 70.90267°S 22.78110°E [6] (ตามแผน) ชนเข้ากับพื้นผิวที่ราว 500 เมตร จากจุดที่วางแผนไว้ (ตามจริง) |
ระยะทางที่ขับ | 500 m (1,600 ft) (intended) |
ปรัชญาน (อักษรโรมัน: Pragyan, จาก ปรัชญา; สันสกฤต: प्रज्ञा, อักษรโรมัน: prajñā, แปลตรงตัว 'ปัญญา',[7][8], )[7][9]) เป็นลูนาร์โรเวอร์ของอินเดีย ที่เป็นส่วนหนึ่งของจันทรยาน-3 ภารกิจดวงจันทร์ที่พัฒนาขึ้นโดยองค์การค้นคว้าอวกาศอินเดีย (ISRO)[10] รุ่นก่อนหน้าของยานนี้เคยส่งไปเป็นส่วนหนึ่งของจันทรยาน-2 เมื่อ 22 กรกฎาคม 2019 แต่ถูกทำลายลงกับแลนเดอร์ วิกรม เมื่อพุ่งชนเข้ากับผิวดวงจันทร์เมื่อ 6 กันยายน[3][11] จันทรยาน-3 พร้อมทั้งแลนเดอร์ วิกรม และโรเวอร์ ปรัชญาน รุ่นใหม่ได้ปล่อยในวันที่ 14 กรกฎาคม 2023[1] และลงจอดสำเร็จใกล้กับขั้วใต้ดวงจันทร์เมื่อ 23 สิงหาคม[12]
ปรัชญาน มีมวลราว 27 kg (60 lb) ขนาด 0.9 × 0.75 × 0.85 m (3.0 × 2.5 × 2.8 ft) และมีกำลัง 50 วัตต์[13] ออกแบบมาเพื่อใช้งานจากพลังแสงอาทิตย์[14][15] ขับเคลื่อนด้วยยหกล้อและตั้งใจว่าเดินทาง 500 เมตร (1,600 ฟุต) บนพื้นผิวดวงจันทร์ ด้วยความเร็ว 1 ซm (0.39 in) ต่อวินาที ในขณะเดียวกันก็ทำการวิเคราะห์ผลตรงจุดนั้นและส่งข้อมูลไปยังแลนเดอร์เพื่อส่งต่อกลับมายังโลก[16][17][18][19][20]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 "ISRO to launch moon mission Chandrayaan-3 on July 14. Check details". Hindustan Times. 2023-07-06. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-07-08. สืบค้นเมื่อ 2023-07-06.
- ↑ "Live media coverage of the landing of Chandrayaan-2 on lunar surface – ISRO". www.isro.gov.in. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-09-02. สืบค้นเมื่อ 2019-09-02.
{{cite web}}
: ระบุ|accessdate=
และ|access-date=
มากกว่าหนึ่งรายการ (help); ระบุ|archivedate=
และ|archive-date=
มากกว่าหนึ่งรายการ (help); ระบุ|archiveurl=
และ|archive-url=
มากกว่าหนึ่งรายการ (help) - ↑ 3.0 3.1 "Chandrayaan - 2 Latest Update". isro.gov.in. September 7, 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ September 8, 2019. สืบค้นเมื่อ September 11, 2019.
{{cite web}}
: ระบุ|accessdate=
และ|access-date=
มากกว่าหนึ่งรายการ (help); ระบุ|archivedate=
และ|archive-date=
มากกว่าหนึ่งรายการ (help); ระบุ|archiveurl=
และ|archive-url=
มากกว่าหนึ่งรายการ (help) - ↑ "Chandrayaan-3 launch on July 14; August 23-24 preferred landing dates". THE TIMES OF INDIA. 6 July 2023. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 August 2023. สืบค้นเมื่อ 7 July 2023.
- ↑ "Chandrayaan-2 update: Fifth Lunar Orbit Maneuver". Indian Space Research Organisation. September 1, 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ September 3, 2019. สืบค้นเมื่อ September 1, 2019.
{{cite web}}
: ระบุ|accessdate=
และ|access-date=
มากกว่าหนึ่งรายการ (help); ระบุ|archivedate=
และ|archive-date=
มากกว่าหนึ่งรายการ (help); ระบุ|archiveurl=
และ|archive-url=
มากกว่าหนึ่งรายการ (help) - ↑ Amitabh, S.; Srinivasan, T. P.; Suresh, K. (2018). Potential Landing Sites for Chandrayaan-2 Lander in Southern Hemisphere of Moon (PDF). 49th Lunar and Planetary Science Conference. 19–23 March 2018. The Woodlands, Texas. Bibcode:2018LPI....49.1975A. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 22 August 2018.
- ↑ 7.0 7.1 "Chandrayaan-2 Spacecraft". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 July 2019. สืบค้นเมื่อ 24 August 2019.
Chandrayaan 2's Rover is a 6-wheeled robotic vehicle named Pragyan, which translates to 'wisdom' in Sanskrit.
{{cite web}}
: ระบุ|accessdate=
และ|access-date=
มากกว่าหนึ่งรายการ (help); ระบุ|archivedate=
และ|archive-date=
มากกว่าหนึ่งรายการ (help); ระบุ|archiveurl=
และ|archive-url=
มากกว่าหนึ่งรายการ (help) - ↑ Wilson, Horace Hayman (1832). A dictionary in Sanscrit and English. Calcutta: Education Press. p. 561. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-02-09. สืบค้นเมื่อ 2019-09-01.
- ↑ Elumalai, V.; Kharge, Mallikarjun (7 Feb 2019). "Chandrayaan – II" (PDF). PIB.nic.in. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 7 February 2019. สืบค้นเมื่อ 7 Feb 2019.
Lander (Vikram) is undergoing final integration tests. Rover (Pragyan) has completed all tests and waiting for the Vikram readiness to undergo further tests.
{{cite web}}
: ระบุ|accessdate=
และ|access-date=
มากกว่าหนึ่งรายการ (help); ระบุ|archivedate=
และ|archive-date=
มากกว่าหนึ่งรายการ (help); ระบุ|archiveurl=
และ|archive-url=
มากกว่าหนึ่งรายการ (help) - ↑ "Isro: Chandrayaan-2 launch between July 9 and 16 | India News – Times of India". The Times of India. May 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-05-18. สืบค้นเมื่อ 2019-05-01.
- ↑ Vikram lander located on lunar surface, wasn't a soft landing: Isro. เก็บถาวร 2020-11-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Times of India. 8 September 2019.
- ↑ "Chandrayaan-3 launch on 14 July, lunar landing on 23 or 24 August". The Hindu (ภาษาIndian English). 2023-07-06. ISSN 0971-751X. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-07-11. สืบค้นเมื่อ 2023-07-14.
- ↑ "Launch Kit at a glance - ISRO". www.isro.gov.in. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-07-23. สืบค้นเมื่อ 2019-08-05.
{{cite web}}
: ระบุ|accessdate=
และ|access-date=
มากกว่าหนึ่งรายการ (help); ระบุ|archivedate=
และ|archive-date=
มากกว่าหนึ่งรายการ (help); ระบุ|archiveurl=
และ|archive-url=
มากกว่าหนึ่งรายการ (help) - ↑ "Chandrayaan-2 to Be Launched in January 2019, Says ISRO Chief". Gadgets360. NDTV. Press Trust of India. 29 August 2018. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 August 2018. สืบค้นเมื่อ 29 August 2018.
- ↑ "ISRO to send first Indian into Space by 2022 as announced by PM, says Dr Jitendra Singh" (Press release). Department of Space. 28 August 2018. สืบค้นเมื่อ 29 August 2018.
- ↑ "ISRO to Launch Chandrayaan 2 on July 15, Moon Landing by September 7". The Wire. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-06-13. สืบค้นเมื่อ 2019-06-12.
- ↑ Singh, Surendra (10 May 2019). "Chandrayaan-2 will carry 14 payloads to moon, no foreign module this time". The Times of India (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-05-10. สืบค้นเมื่อ 2019-05-11.
- ↑ "Payloads for Chandrayaan-2 Mission Finalised" (Press release). Indian Space Research Organisation. 30 August 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 May 2019. สืบค้นเมื่อ 4 January 2010.
- ↑ "Chandrayaan-2 to get closer to moon". The Economic Times. Times News Network. 2 September 2010. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 August 2011.
- ↑ Ramesh, Sandhya (12 June 2019). "Why Chandrayaan-2 is ISRO's 'most complex mission' so far". ThePrint. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 July 2019. สืบค้นเมื่อ 12 June 2019.