ข้ามไปเนื้อหา

รายชื่อสัญลักษณ์นำโชคประจำจังหวัดของไทย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

สัญลักษณ์นำโชคประจำจังหวัดของประเทศไทย ถูกจัดทำขึ้นสำหรับการประชาสัมพันธ์หรือส่งเสริมกิจการต่าง ๆ ของจังหวัด เพื่อเป็นสัญลักษณ์เป็นที่จดจำท้องถิ่นอย่างแพร่หลาย สัญลักษณ์นำโชคเหล่านี้ดัดแปลงมาจากเอกลักษณ์ของท้องถิ่นในแต่ละจังหวัด เช่น เครื่องแต่งกาย การประกอบอาชีพ สัตว์ทางเศรษฐกิจ หรือตำนานมุขปาฐะ เป็นอาทิ[1][2][3] หลายจังหวัดมีการประกวดชิงรางวัลการออกแบบสัญลักษณ์นำโชค เพื่อสร้างเอกลักษณ์ของจังหวัดของตน[4]

ปัจจุบัน

[แก้]

ภาคเหนือ

[แก้]
จังหวัด ชื่อสัญลักษณ์นำโชค ลักษณะ วันที่ประกาศ อ้างอิง
เชียงใหม่ น้องฟาน เก้งเผือกจากตำนานการสร้างเมือง 11 เมษายน 2560 [5][6][7][8]
พะเยา น้องมัดใจ นกยูง เพราะเป็นแหล่งอาศัยของนกยูงมากที่สุดในประเทศ 23 กรกฎาคม 2562 [9]
ลำปาง น้องชาม ไก่ในชาม ชื่อพ้องกับคำว่า Charm และชามตราไก่ 27 กุมภาพันธ์ 2562 [10]
ลำพูน ช้างปู้ก่ำงาเขียว ช้างของพระนางจามเทวี 9 พฤษภาคม 2560

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

[แก้]
จังหวัด ชื่อสัญลักษณ์นำโชค ลักษณะ วันที่ประกาศ อ้างอิง
กาฬสินธุ์ แพรงามและภูพาน ไดโนเสาร์สองตัวสวมเครื่องแต่งกายท้องถิ่น 6 กุมภาพันธ์ 2561 [1]
ขอนแก่น น้องไดโน่ ไดโนเสาร์คอยาวตัวสีเขียวคาดผ้าขาวม้า 5 กุมภาพันธ์ 2560 [11]
มุกดาหาร ไม่ทราบชื่อ แมวดาวตัวผู้และตัวเมียสวมเครื่องแต่งกายท้องถิ่น 23 กันยายน 2562 [12]
ร้อยเอ็ด โกมุ ตัวการ์ตูนสีเหลืองทอง [13][14]
หนองบัวลำภู น้องลุ่มภู ปลาฉลามน้ำจืดสีชมพู ตามซากฟอสซิลที่พบ 19 กันยายน 2561 [3]
อุดรธานี คุณทองโบราณ สุนัข ตั้งตามโครงกระดูกสุนัขโบราณที่บ้านเชียง 2 ตุลาคม 2560 [15]

ภาคกลาง

[แก้]
จังหวัด ชื่อสัญลักษณ์นำโชค ลักษณะ วันที่ประกาศ อ้างอิง
นครนายก พี่ขุน วิญญาณนักรบโบราณ นามสื่อถึงเขื่อนขุนด่านปราการชล 27 กรกฎาคม 2560 [2]
พิจิตร ไม่ทราบชื่อ จระเข้น้ำจืด 1 กรกฎาคม 2559 [16]
เพชรบูรณ์ หมีแก้ว หมีควายที่เคยเป็นข่าว ก่อนหน้าเคยใช้หนอนมะขามเมื่อ พ.ศ. 2540-2542 และหนุ่มนครบาล 16 กันยายน 2560 [17][18]
สมุทรปราการ คร็อกโค่ จระเข้สวมชุดมอญ สื่อถึงน้ำคือคลองลัดโพธิ์ 27 กรกฎาคม 2560 [2]
สมุทรสงคราม ปาป้า-ทูทู่ ปาป้าเป็นมนุษย์ต่างดาวรูปร่างเหมือนปลาทู มีคู่หูชื่อทูทู่ เป็นหุ่นยนต์รูปร่างเหมือนกลอง สื่อถึงแม่น้ำแม่กลอง 28 พฤศจิกายน 2566 [19][20]
สระบุรี โคอี้มอร์รี่ วัวนม สัตว์เศรษฐกิจของจังหวัด 2562 [21]
สุพรรณบุรี น้องเหน่อ เด็กชายเกี้ยวผมและนุ่งโจงกระเบน 15 มิถุนายน 2563 [22]
อุทัยธานี น้องอิงแพ ปลาแรดสีเหลืองแกมเขียว 15 มีนาคม 2566 [23][24]

ภาคตะวันออก

[แก้]
จังหวัด ชื่อสัญลักษณ์นำโชค ลักษณะ วันที่ประกาศ อ้างอิง
จันทบุรี น้องชมจันท์ กระต่ายสีขาว 29 พฤศจิกายน 2565 [25]
ฉะเชิงเทรา เล้ง มังกรไฟสีแดง สื่อถึงแม่น้ำบางปะกงซึ่งเหมือนท้องมังกร 27 กรกฎาคม 2560 [2]
ปราจีนบุรี ตงตง หน่อของไผ่ตงรสหวาน ของดีประจำจังหวัด 27 กรกฎาคม 2560 [2]
ระยอง หมะม้าหมุด ผีเสื้อสมุทร จากวรรณคดี พระอภัยมณี ของสุนทรภู่ 17 มิถุนายน 2559 [26]
สระแก้ว สีดา ผีเสื้อนำเที่ยว นามสื่อถึงอุทยานแห่งชาติปางสีดา 27 กรกฎาคม 2560 [2]

ภาคตะวันตก

[แก้]
จังหวัด ชื่อสัญลักษณ์นำโชค ลักษณะ วันที่ประกาศ อ้างอิง
ตาก น้องลอยใจ หญิงสาวสวมชุดไทย ยิ้มสดใสตลอดเวลา 17 กันยายน 2556 [27]
ประจวบคีรีขันธ์ น้องเอ็นดู ค่างแว่นถิ่นใต้สวมเสื้อลายสับปะรด 31 มีนาคม 2565 [28][29]
เพชรบุรี โตนด เมื่อ พ.ศ. 2561 เคยใช้น้องชมพู่หวาน 21 กรกฎาคม 2564 [30]
ราชบุรี น้องโอ่งมังกร มังกรสวมหมวกสัญลักษณ์โอ่งมังกร 30 มกราคม 2562

ภาคใต้

[แก้]
จังหวัด ชื่อสัญลักษณ์นำโชค ลักษณะ วันที่ประกาศ อ้างอิง
พังงา ไอต่าว เต่ามะเฟืองสวมสร้อยไข่มุก ถือกระดองที่ใช้ต่างเซิร์ฟบอร์ด 11 พฤศจิกายน 2565 [31]
ภูเก็ต น้องจุ้ง เด็กน้อยในร่างกุ้งมังกร 16 กันยายน 2562 [4]

อดีต

[แก้]
จังหวัด ชื่อสัญลักษณ์นำโชค ลักษณะ ช่วงเวลา อ้างอิง
จันทบุรี น้องสุขใจ เต่าหูยาว สวมชุดไทย และถือทุเรียน 3 พฤษภาคม 2561 – 29 พฤศจิกายน 2565 [32]
เพชรบุรี น้องชมพู่หวาน เป็นชมพู่สีชมพู พ.ศ. 2560–2564
เพชรบูรณ์ หนอนมะขาม หนอนรูปร่างเหมือนมะขาม พ.ศ. 2540–2542 [18]
หนุ่มนครบาล ตำรวจจราจร พ.ศ. 2542–2560 [18]
สระบุรี น้องใจบุญ วัวคาวบอยถือตะกร้าใส่กะหรี่ปั๊ป พ.ศ. 2560–2562 [33]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 "ผลการประกวดออกแบบมาสคอต จ. กาฬสินธุ์". กลุ่มงานยุทธศาสตร์และข้อมูลเพื่อการพัฒนาจังหวัด สำนักงานจังหวัดกาฬสินธุ์. 8 กุมภาพันธ์ 2561. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-10-25. สืบค้นเมื่อ 22 กรกฎาคม 2564. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 "ทำความรู้จัก 5 ผู้พิทักษ์ แห่ง ดินแดนเบญจบูรพาสุวรรณภูมิ". จส. 100. 1 สิงหาคม 2560. สืบค้นเมื่อ 22 กรกฎาคม 2564. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  3. 3.0 3.1 "คนเก่งและดีที่ คมส. ปี 2561 (ออกแบบมาสคอต : น้องลุ่มภู)". คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต. 19 กันยายน 2561. สืบค้นเมื่อ 22 กรกฎาคม 2564. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  4. 4.0 4.1 "เลือกแล้วมาสคอตภูเก็ต "Nong Joong" เด็กน้อยในร่างกุ้งมังกร". ผู้จัดการออนไลน์. 16 กันยายน 2562. สืบค้นเมื่อ 22 กรกฎาคม 2564. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  5. "เปิดตัว 'น้องฟาน' มาสคอตแคมเปญ ดันเชียงใหม่สู่เมืองมรดกโลก". มติชนออนไลน์. 11 เมษายน 2560. สืบค้นเมื่อ 27 เมษายน 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  6. "เปิดตัว 'น้องฟาน' กวางเผือก สัญลักษณ์ขับเคลื่อนเชียงใหม่สู่มรดกโลก". เห็ดลม. สืบค้นเมื่อ 27 เมษายน 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)[ลิงก์เสีย]
  7. "จังหวัดเชียงใหม่เปิดตัวมาสคอต "น้องฟาน" เพื่อรณรงค์โครงการเชียงใหม่สู่มรดกโลก ใช้เป็นตัวแทนสื่อสารสร้างความเข้าใจ". นอร์ทพับลิคนิวส์. 12 เมษายน 2560. สืบค้นเมื่อ 27 เมษายน 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  8. Khomphetr Phrmkham (12 เมษายน 2560). "เปิดตัว "น้องฟาน" Mascot การรณรงค์โครงการเชียงใหม่สู่มรดกโลก". เชียงใหม่นิวส์. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-06-05. สืบค้นเมื่อ 27 เมษายน 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  9. "MIS จัดประชุมระดมความคิดเห็นในการกำหนดแนวทางการผลักดัน และวิธีการใช้แบรนด์ท่องเที่ยวพะเยา". มหาวิทยาลัยพะเยา. 30 กรกฎาคม 2562. สืบค้นเมื่อ 22 กรกฎาคม 2564. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  10. ศชากานท์ แก้วแพร่ (1-7 มีนาคม 2562). "ลำปางซิตี้แบรนด์ดิ้ง นักวิจัยดันแผนเมืองเซรามิก". ลานนาโพสต์. สืบค้นเมื่อ 22 กรกฎาคม 2564. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  11. "ผู้ว่าฯขอนแก่นเปิดตัว"DINO" ไดโนเสาร์อารมณ์ดี มาสคอตต้นแบบ สัญลักษณ์ขับเคลื่อนวาระจังหวัด". มติชนออนไลน์. 5 กุมภาพันธ์ 2560. สืบค้นเมื่อ 22 กรกฎาคม 2564. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  12. พิพัฒน์ เพชรสังหาร และวสันต์พรรษ จำเริญนุสิต (24 กันยายน 2562). "มุกดาหาร เปิดตัวตราสัญลักษณ์ (logo) และการ์ตูนสัญลักษณ์สัญลักษณ์(mascot) ประจำจังหวัดมุกดาหาร". สำนักข่าว กรมประชาสัมพันธ์. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-11-07. สืบค้นเมื่อ 23 พฤษภาคม 2566. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  13. ""ท็อป ธีระศานต์" สร้าง GOMU ตัวการ์ตูนไทยหวังไกลแบรนด์ระดับชาติ". สนุกดอตคอม. 29 กรกฎาคม 2559. สืบค้นเมื่อ 22 กรกฎาคม 2564. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  14. "'มาสคอต' แสนล้าน คนไทยทำได้". Salika. 23 สิงหาคม 2562. สืบค้นเมื่อ 22 กรกฎาคม 2564. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  15. "เปิดตัว "คุณทองโบราณ" มาสคอตประจำจังหวัดอุดรธานี". ไทยรัฐออนไลน์. 2 ตุลาคม 2560. สืบค้นเมื่อ 22 กรกฎาคม 2564. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  16. "พิจิตรคิกออฟ เปิดตัวมาสคอตจระเข้กระตุ้นปชช.ออกมาลงประชามติ ห่วงเป้าไม่ถึง 80%". มติชนออนไลน์. 1 กรกฎาคม 2559. สืบค้นเมื่อ 22 กรกฎาคม 2564. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  17. "ปังแน่! อวดโฉมมาสคอต "หมีแก้ว" ชนะเลิศ ส่งเสริมการท่องเที่ยวเพชรบูรณ์". ผู้จัดการออนไลน์. 16 กันยายน 2560. สืบค้นเมื่อ 22 กรกฎาคม 2564. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  18. 18.0 18.1 18.2 สุนทร คงวราคม (17 กุมภาพันธ์ 2561). "ถกกระจาย! ชาวเน็ตรุมถก"มาสคอตมะขาม" เสนอทาสีปรับปรุงหรือออกแบบใหม่-เปลี่ยนใช้สัญลักษณ์อื่น". 77 ข่าวเด็ด. สืบค้นเมื่อ 22 กรกฎาคม 2564. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  19. "แจ้งเกิด! 29 คาแรกเตอร์ไทยหน้าใหม่ ที่จะมอบพลังใจให้ผู้คน". Happening and Friend. 25 สิงหาคม 2566. สืบค้นเมื่อ 5 ธันวาคม 2566. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  20. "สมุทรสงครามคว้า 'ปาป้า-ทูทู่' เป็นพรีเซนเตอร์จังหวัด โซเชียลแห่ชมไอเดียสุดน่ารัก". 3PlusNews. 28 พฤศจิกายน 2566. สืบค้นเมื่อ 5 ธันวาคม 2566. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  21. "'สระบุรี โมเดล' ปั้นมาสคอต 'โคอี้ มอรี่' ทูตส่งเสริมการท่องเที่ยวประจำจังหวัด". โพสต์ทูเดย์. 3 มกราคม 2563. สืบค้นเมื่อ 22 กรกฎาคม 2564. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  22. "จังหวัดสุพรรณบุรีเตรียมเปิดตัวแบรนด์น้องเหน่อในเดือนสิงหาคมนี้ เพื่อประชาสัมพันธ์สินค้า บริการ และสถานที่ท่องเที่ยว ในจังหวัดสุพรรณบุรี". สำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดสุพรรณบุรี. 3 มกราคม 2563. สืบค้นเมื่อ 22 กรกฎาคม 2564. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  23. "การประกวดตั้งชื่อมาสคอตประจําจังหวัดอุทัยธานี". Contest Thailand. 16 มีนาคม 2566. สืบค้นเมื่อ 23 พฤษภาคม 2566. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)[ลิงก์เสีย]
  24. "จังหวัดอุทัยธานี จัดประชุมคณะกรรมการฯ คัดเลือกชื่อมาสคอต(Mascos)ปลาแรด". สำนักข่าว กรมประชาสัมพันธ์. 23 มีนาคม 2566. สืบค้นเมื่อ 23 พฤษภาคม 2566. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)[ลิงก์เสีย]
  25. "จ.จันทบุรีเปิดตัวมาสคอต น้องชมจันท์". สำนักข่าว กรมประชาสัมพันธ์. 29 พฤศจิกายน 2565. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-12-04. สืบค้นเมื่อ 5 ธันวาคม 2566. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  26. "เปิดตัวมาสคอต "หมะม้าหมุด" แบรนด์ท่องเที่ยว จ.ระยอง". พีพีทีวี. 17 มิถุนายน 2559. สืบค้นเมื่อ 22 กรกฎาคม 2564. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  27. "ผลการประกวดออกแบบตราสัญลักษณ์กระทงสาย (Logo) การออกแบบตัวสัญลักษณ์กระทงสาย (Mascot)". Contest War. สืบค้นเมื่อ 22 กรกฎาคม 2564. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  28. "การประกวดออกแบบมาสคอต (mascot) ประจำจังหวัดประจำจังหวัดประจวบคีรีขันธ์เพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์จังหวัดในการบริหารจัดการระดับจังหวัดด้านการท่องเที่ยว "ค่างแว่นถิ่นใต้"". จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. 1 สิงหาคม 2565. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-08-09. สืบค้นเมื่อ 23 พฤษภาคม 2566. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  29. "ผู้ว่าฯ เปิดตัว "ค่างแว่นถิ่นใต้" มาสคอต สัญลักษณ์ส่งเสริมท่องเที่ยวประจวบฯ". ผู้จัดการออนไลน์. 31 มีนาคม 2565. สืบค้นเมื่อ 23 พฤษภาคม 2566. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  30. "มหาวิทยาลัยศิลปากรมอบรางวัลการประกวดการออกแบบ "มาสคอตการท่องเที่ยวและโลโก้เมืองสร้างสรรค์ของจังหวัดเพชรบุรี ระดับนานาชาติ 2564"". ข่าวสด. 21 กรกฎาคม 2564. สืบค้นเมื่อ 22 กรกฎาคม 2564. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  31. "ทะลุ 1 ล้านคนแล้วนักท่องเที่ยวเข้าพังงา ปีหน้าคาดไม่ต่ำกว่า 10 ล้านคน". ผู้จัดการออนไลน์. 12 พฤศจิกายน 2565. สืบค้นเมื่อ 23 พฤษภาคม 2566. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  32. "ททท. เปิดตัว มาสคอตน้องสุขใจ ส่งเสริมการท่องเที่ยวสวนผลไม้เมืองจันท์". สำนักข่าว กรมประชาสัมพันธ์. 3 พฤษภาคม 2561. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-07-22. สืบค้นเมื่อ 22 กรกฎาคม 2564. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  33. "เปิดตัวมาสคอต "น้องใจบุญ" วัวคาวบอย ส่งเสริมการท่องเที่ยว สระบุรี แสนใกล้ ประทับใจ". ผู้จัดการออนไลน์. 14 พฤศจิกายน 2560. สืบค้นเมื่อ 24 ตุลาคม 2565. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)