รายชื่อผีไทย
หน้าตา
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
บทความนี้ต้องการตรวจสอบความถูกต้องจากผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนั้น ๆ โปรดเพิ่มพารามิเตอร์ reason หรือ talk ลงในแม่แบบนี้เพื่ออธิบายปัญหาของบทความ |
ด้านล่างนี้คือ รายชื่อผีไทย และ แถนไท
รายชื่อ
[แก้]- กระสือ
- กระสือแฝดสาม
- กระสือแฝดซ่อนเงา
- กระหัง
- กองกอย
- ผีแอนงูคอยาวผมเขียว
- ผีสาวงูพิษ
- กาสา (กาสัก)
- กุมารทอง กุมารเทพ /กุมารพราย
- เกียรติมุข
- โขมด โขมดป่า/โขมดดง
- ควายธนู
- เงือกงู
- เจตภูต
- เจ้าเจตคุปต์
- เจ้าพ่อหอกลอง
- เจ้าป่าเจ้าเขา (พระพนัสบดี)
- ซาเราะกาเวา
- ท้าวกุเวร (เวสสุวัณ) (ผีอ้ายม่วง ล้านนา.)
- ท้าวธตรฐ (ผีอ้ายลก ล้านนา.)
- ท้าววิรุฬหก (ผีอ้ายคำเหลือง ล้านนา.)
- ท้าววิรูปักษ์ (ผีอ้ายหน้าผากช้ำ ล้านนา.)
- เทพารักษ์
- เทวอสุรกาย
- เทวา ยักขา ซอคะยี เขมะ
- นกออก
- นกอะจ๊ะเหลเหล
- นางกวัก
- นางตะเคียน
- นางตานี
- นางนาค หรือ แม่นาค พระโขนง
- สาปสางนางสไบ
- นิรยอสุรกาย
- ปอบ
- เบื้อ
- ปิศาจดอกบัวไฟ
- ปู่เจ้าสมิงพราย
- ปู่เจ้าสมิงคา (ทวดเสือ)
- เปรต
- เปตติอสุรกาย
- คืนหลอนผีสาวคอยาว
- ผีหัวขาดอยากไปเกิด
- ผีกละยักษ์
- ผีก้อนเสาเตาไฟ (ผีปู่ดำย่าดำ)
- ผีกะ
- ผีกะล่อมข้าว
- ผีไก่หน้อย (ผีลูกไก่เรืองแสง)
- ผีขี้เหล็กไหล
- ผีขึงขื่อ
- ผีขุนน้ำ
- ผีค้างพอน
- ผีเครือ
- ผีจอมปลวก
- ผีจะกละ(ผีแมว)
- ผีเจ้านาย (พวกผีร่างทรง)
- ผีเจ้าท่า
- ผีฉมบ
- ผีชะแคร่
- ผีชิน
- ผีด้งหรือผีนางด้ง
- ผีดิบ
- ผีต้นโพธิ์
- ผีตะแหลง (ผีแปลงร่าง)
- ผีตาโขน
- ผีดาดา
- ผีตายทั้งกลม
- ผีตาโบ๋
- ผีตายพราย
- ผีต๋ามอย
- ผีตาโม่ง (ผีลูกไฟ)
- ผีตายห่า (ผีต๋ายหลุ้ต๊อง)
- ผีตายโหง
- ผีโต๊ะเคร็ง
- ผีถ้วยแก้ว
- ผีแถน (ผีด้ำใหญ่)
- ผีทะเล
- ผีนา (ผีตาแฮก)
- ผีนางน้อย
- ผีนางรำ
- ผีนางธิดา
- ผีราตรี
- ผีเจ้าที่
- ผีนางโอกระแชง (ผีแชง)
- ผีบังบด
- ผีสี่ภาค ชาวไทยโบราณว่า ไว้จริงหรือไม่ว่าจะเป็น เรื่องที่ไม่เคยมีใคร
- ผีกะ
- นรกภูมิ
- มาร
- กุ้งมังกร
- กุ้ง
- ปลา
- ปลาทอง
- ปีศาจ
- ค้างคาว
- ธนู (ม้าธนูหรือหน้า)
- ผีพรายสระหลวง
- ผีเด็กแฝด
- กระจกอาถรรพ์
- ผีกระจกมองข้าง
- ปีศาจกระจกไฟ
- ดาวดวงดราจันทร์
- ผีบ้านผีเรือน ชาวไทยใหญ่เรียกว่า ผีล่ำ ไทยอีสานเรียกว่า ผีด้ำ มอญเรียก อาล้กฮอย
- ผีปะกำ
- ผีเปรตยักษ์
- ผีป่า
- ผีป่วง
- ผีเป้า
- แมวเป้า
- ผีโป๊กกะโหล้ง
- ผีโป่งดิน (ผีค่างดิน)
- ผีโป่งน้ำ (ผีค่างน้ำ)
- ผีปู่แสะย่าแสะ
- ผีแปดเต้า
- ผีโผงดง
- ผีพนัน (ทวาบร)
- ผีพราย
- ผีเพลีย
- ผีไพร
- ผีโพง
- แมวโพง
- ผีพุ่งไต้ (ผีปุ้งส้าว)
- ผีฟองฝ้าย
- ผีฟ้า นางเทียม (ผู้ทรงผีฟ้า)
- ผีมดผีเม็ง
- ผีม้าบ้อง (ปอบม้า)
- ผีแม่บันได
- ผีแม่หม้าย
- ผีไม้น้ำหลุน้ำไหล
- ผีย้ายสมบัติ
- ผีย่าหม้อหนึ้ง
- ผีลานนวดข้าว
- ผีสองสาว
- ผีมเหสักข์ มเหสักข์ ตามความหมายแปลว่า เทวดาผู้ใหญ่ [1] แต่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยมีความเชื่อว่า ผีมเหสักข์ คือวิญญาณของบรรพบุรุษที่คอยปกปักรักษาดินแดนถิ่นนั้น (คล้ายกับพระภูมิเจ้าที่) ประเพณีการไหว้ผีมเหสักข์จะจัดตั้งแต่วันขึ้น 1 ค่ำ เดือน 6 ไปจนสิ้นเดือน 7 อันปรากฏในฮีตสิบสอง คลองสิบสี่ มีการฉลองฟ้อนรำและการเข้าทรงด้วย [2] บางท้องถิ่นเช่นอำเภอวาริชภูมิ จังหวัดสกลนคร จัดการไหว้ผีมเหสักข์ในช่วงมีนาคมถึงเมษายน [3]
- ผีหลังกลวง
- ผีหิ้งผีโรง
- ผีหัวขาด
- ผีหัวหลวง
- ผีอยำ
- ผีอี่ค้อย
- ผีอี่เงือก
- ผีอี่ฮุง (ผีสายรุ้ง)
- ผีอำ
- พระขวัญ
- พรายงู
- พ่อแก่ฤๅษีผีครู (ตฺริกาลชฺญ)
- พ่อปู่เขียว ผีหม้อยาย ผียายตะกร้า ผียายชาม ผียายกระบอก
- พระกาฬไชศรี
- พระภูมิเจ้าที่
- ภัสมาสูร
- มโนมัย
- มัสสีล
- ม้าเทวกันทัด
- ม้าอสูรกัณฐกะ
- แมงสี่หูห้าตา
- แม่ซื้อ
- แม่ธรณีประตู
- แม่โพสพ (ชาวกะเหรี่ยงเรียก ผีบื้อโย)
- แม่ย่านาง
- แมงหมานีผีบอก
- ไม้ผีลักซ้อน
- ยายกะลาตากะลี (นายป่าช้า)
- รักยม
- รากษส (ปู่โสมเฝ้าทรัพย์)
- ลูกกรอก
- วฤคกะ
- ศิพชวน
- เสือสมิง
- เสือเย็น
- หมาดำ
- หมาอกด่าง (หมาดำภาคเหนือ)
- หุ่นพยนต์
- หนอนนรกปากเหล็ก
- โหงพราย
- กาปากเหล็ก
- อิลวละ และ วาตาปิ
รายชื่อแถน
[แก้]- ดั้ง First Deity แถนแรก
- แดด Solar Deity แถนแห่งดวงอาทิตย์
- เดือน Lunar Deity แถนแห่งดวงจันทร์
- ดิน Earth Deity แถนแห่งโลก
- ดาว Star Deity แถนแห่งดาวอื่น ๆ
- ดอย Mountain Deity แถนแห่งภูเขา
- ดอน Island Deity แถนแห่งเกาะ
- ด้ำ House Deity แถนประจำบ้าน
- ดี Goodness Deity แถนแห่งความดี
- ดึก Night Deity แถนเวลากลางคืน
- ดิบ Heath Deity แถนแห่งสุขภาพและความเป็น
- ดับ Death Deity แถนแห่งโรคภัยและความตาย
- ด่าน Gateway Deity แถนประจำประตู
- เดือด War Deity แถนแห่งสงคราม
- ดื่ม Water and Alcohol Deity แถนแห่งน้ำและเครื่องดื่มมึนเมา
- ดา Water Deity แถนแห่งแหล่งน้ำ
- ดก Fruitful Abundance Deity แถนแห่งความอุดมสมบูรณ์
- ดอก Flower Deity แถนแห่งดอกไม้
- ดาบ Sword Deity แถนแห่งศาสตราวุธ
- ดง Tree and Forest Deity แถนแห่งต้นไม้และป่าไม้
- ดัง Voice Deity แถนแห่งเสียง
- ดม Odor Deity แถนแห่งกลิ่น
- ดู Visual Deity แถนแห่งการมองเห็น
- เด้า Sexual Deity แถนแห่งการมีเพศสัมพันธ์
- ด้าน Defence Deity แถนแห่งการป้องกัน
- โดด-ดูด Gravity Deity แถนแห่งแรงโน้มถ่วง
- เด่น Beauty Deity แถนแห่งความงาม
- แดน Land Deity แถนแห่งเขตที่ดินขนาดใหญ่
- โดน Time Deity แถนแห่งเวลา
- เดิ่น Field Deity แถนแห่งเขตที่ดินขนาดเล็ก
- ดัน Pressure Deity แถนแห่งแรงกดดัน
- ด้น Music Deity แถนแห่งการดนตรี
- ด่า Cursing Deity แถนแห่งการสาปแช่ง
- เดา Fortune Teller Deity แถนแห่งการทำนายอนาคต
- ดื้อ Deity of Independence แถนแห่งความอิสระ
- ดูก Skeleton Deity แถนแห่งกระดูก
- ดอง Deity of Marriage แถนแห่งการแต่งงาน
- ได้ Deity of Creative Power แถนแห่งความสามารถ[4]
แหล่งที่อยู่ของแถน
[แก้]- ห้วย แหล่งน้ำจืดทั่วไป เช่น แม่น้ำ ลำธาร ห้วย หนอง คลอง บึง
- ห้วง แหล่งน้ำเค็มทั่วไป เช่น ทะเล มหาสมุทร
- หาว สวรรค์
- เหว นรก
- หุบ ส่วนลึกของถ้ำหรือภูเขา
- ห้อง ส่วนปิดของสถานที่
- หอ ส่วนว่างของสถานที่สูง
อ้างอิง
[แก้]- ↑ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ เก็บถาวร 2009-03-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (สืบค้นออนไลน์)
- ↑ "การนับถือผีมเหสักข์ (มเหศักดิ์)". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-02-10. สืบค้นเมื่อ 2021-02-12.
- ↑ "ประเพณีเลี้ยงผีมเหสักข์ จังหวัดสกลนคร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-09-18. สืบค้นเมื่อ 2021-02-12.
- ↑ ชนชาติไทในนิทาน : แลลอดแว่นคติชนและวรรณกรรมพื้นบ้าน / ศิราพร ณ ถลาง กรุงเทพฯ : มติชน, 2545