ข้ามไปเนื้อหา

ฟุตบอลชิงแชมป์เอเชีย รุ่นอายุไม่เกิน 17 ปี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลชิงแชมป์เอเชีย รุ่นอายุไม่เกิน 17 ปี
ผู้จัดAFC
ก่อตั้ง1985; 40 ปีที่แล้ว (1985)
ภูมิภาคเอเชียและโอเชียเนีย
จำนวนทีม16
ทีมชนะเลิศปัจจุบัน ญี่ปุ่น (สมัยที่ 4)
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุด ญี่ปุ่น (4 สมัย)
ฟุตบอลชิงแชมป์เอเชีย รุ่นอายุไม่เกิน 17 ปี 2025

ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่ 17 ปี (อังกฤษ: AFC U-17 Championship) เป็นการแข่งขันฟุตบอลสำหรับผู้เล่นอายุไม่เกิน 16 ปี จัดขึ้นทุก 2 ปี จัดการโดยเอเอฟซี โดย 4 ทีมที่คะแนนสูงสุด จะมีสิทธิเข้าไปร่วมแข่งขันใน ฟุตบอลโลกเยาวชน ยู 17

การจัดการแข่งขันได้มีการเริ่มแข่งในปี พ.ศ. 2528 ที่ประเทศกาตาร์ โดยเป็นการแข่งขันฟุตบอลสำหรับผู้เล่นอายุไม่เกิน 17 ปี มีการจัดทุกปีจนกระทั่งปี พ.ศ. 2529 ได้เปลี่ยนมาจัดทุก 2 ปีแทน และในปี พ.ศ. 2551 ได้มีการเปลี่ยนแปลงเป็นสำหรับผู้เล่นอายุไม่เกิน 16 ปี ต่อมาสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย หรือ เอเอฟซี (AFC) ได้ปรับเปลี่ยนการแข่งขันจากระดับอายุไม่เกิน 16 ปี เป็นอายุไม่เกิน 17 ปี โดยเริ่มในการแข่งขันตั้งแต่ปี ค.ศ. 2023[1]และเปลี่ยนชื่อการแข่งขันเป็น "ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 17 ปี"[2]

ผลการแข่งขัน

[แก้]
ปี (ค.ศ.) เจ้าภาพ ชิงชนะเลิศ ชิงอันดับ 3
ชนะเลิศ ผลการ
แข่งขัน
รองชนะเลิศ อันดับ 3 ผลการ
แข่งขัน
อันดับ 4
1985
รายละเอียด
ประเทศกาตาร์
กาตาร์

ซาอุดีอาระเบีย
4-3
กาตาร์

อิรัก
1-0
ไทย
1986
รายละเอียด
ประเทศกาตาร์
กาตาร์

เกาหลีใต้
0-0
(5-4)
ลูกโทษ

กาตาร์

ซาอุดีอาระเบีย
2-0
เกาหลีเหนือ
1988
รายละเอียด
ไทย
ไทย

ซาอุดีอาระเบีย
2-0
บาห์เรน

จีน
1-1
(4-3)
ลูกโทษ

อิรัก
1990
รายละเอียด
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์

กาตาร์
2-0
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์

จีน
5-0
อินโดนีเซีย
1992
รายละเอียด
ซาอุดีอาระเบีย
ซาอุดิอาระเบีย

จีน
2-2
(8-7)
ลูกโทษ

กาตาร์

ซาอุดีอาระเบีย
2-1
เกาหลีเหนือ
1994
รายละเอียด
ประเทศกาตาร์
กาตาร์

ญี่ปุ่น
1-0
หลังต่อเวลาพิเศษ

กาตาร์

โอมาน
3-2
บาห์เรน
1996
รายละเอียด
ไทย
ไทย

โอมาน
1-0
ไทย

บาห์เรน
0-0
(4-1)
ลูกโทษ

ญี่ปุ่น
1998
รายละเอียด
ประเทศกาตาร์
กาตาร์

ไทย
1-1
(3-2)
ลูกโทษ

กาตาร์

บาห์เรน
5-1
เกาหลีใต้
2000
รายละเอียด
เวียดนาม
เวียดนาม

โอมาน
1-0
อิหร่าน

ญี่ปุ่น
4-2
เวียดนาม
2002
รายละเอียด
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์

เกาหลีใต้
1-1
(5-3)
ลูกโทษ

เยเมน

จีน
1-0
อุซเบกิสถาน
2004
รายละเอียด
ญี่ปุ่น
ญี่ปุ่น

จีน
1-0
เกาหลีเหนือ

กาตาร์
2-1
อิหร่าน
2006
รายละเอียด
สิงคโปร์
สิงคโปร์

ญี่ปุ่น
4-2
หลังต่อเวลาพิเศษ

เกาหลีเหนือ

ทาจิกิสถาน
3-3
(5-4)
ลูกโทษ

ซีเรีย
2008
รายละเอียด
อุซเบกิสถาน
อุซเบกิสถาน

อิหร่าน
2-1
เกาหลีใต้
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และ  ญี่ปุ่น(1)
2010
รายละเอียด
อุซเบกิสถาน
อุซเบกิสถาน

เกาหลีเหนือ
2-0
อุซเบกิสถาน
 ออสเตรเลีย และ  ญี่ปุ่น(1)
2012
รายละเอียด
อิหร่าน
อิหร่าน

อุซเบกิสถาน
1–1
(3–1)
ลูกโทษ

ญี่ปุ่น
 อิหร่าน และ  อิรัก(1)
2014
รายละเอียด
ไทย
ไทย

เกาหลีเหนือ
2–1
เกาหลีใต้
 ออสเตรเลีย และ  ซีเรีย(1)
2016
รายละเอียด
อินเดีย
อินเดีย

อิรัก
0–0
(4–3)
ลูกโทษ

อิหร่าน
 ญี่ปุ่น และ  เกาหลีเหนือ
2018
รายละเอียด
มาเลเซีย
มาเลเซีย

ญี่ปุ่น
1–0
ทาจิกิสถาน
 ออสเตรเลีย และ  เกาหลีใต้
2020
รายละเอียด
บาห์เรน
บาห์เรน
ยกเลิกเนื่องจาก การระบาดทั่วของโควิด-19
2023
รายละเอียด
ไทย
ไทย

ญี่ปุ่น
3–0
เกาหลีใต้
 อิหร่าน และ  อุซเบกิสถาน

ความสำเร็จในฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 17 ปี

[แก้]
ทีมชาติ ชนะเลิศ รองชนะเลิศ อันดับที่สาม อันดับที่สี่ ก่อนชิงชนะเลิศ รวม
 ญี่ปุ่น 4 (1994, 2006, 2018, 2023) 1 (2012) 1 (2000) 1 (1996) 3 (2008, 2010, 2016) 10
 เกาหลีใต้ 2 (1986, 2002) 3 (2008, 2014, 2023) 1 (1998) 1 (2018) 7
 เกาหลีเหนือ 2 (2010, 2014) 2 (2004, 2006) 2 (1986, 1992) 1 (2016) 7
 จีน 2 (1992, 2004) 3 (1988, 1990, 2002) 5
 ซาอุดีอาระเบีย 2 (1985, 1988) 2 (1986, 1992) 4
 โอมาน 2 (1996, 2000) 1 (1994) 3
 กาตาร์ 1 (1990) 5 (1985, 1986, 1992, 1994, 1998) 1 (2004) 7
 อิหร่าน 1 (2008) 2 (2000, 2016) 1 (2004) 2 (2012, 2023) 6
 อุซเบกิสถาน 1 (2012) 1 (2010) 1 (2002) 1 (2023) 4
 ไทย 1 (1998) 1 (1996) 1 (1985) 3
 อิรัก 1 (2016) 1 (1985) 1 (1988) 1 (2012) 4
 บาห์เรน 1 (1988) 2 (1996, 1998) 1 (1994) 4
 ทาจิกิสถาน 1 (2018) 1 (2006) 2
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 1 (1990) 1 (2008) 2
 เยเมน 1 (2002) 1
 ซีเรีย 1 (2006) 1 (2014) 2
 อินโดนีเซีย 1 (1990) 1
 เวียดนาม 1 (2000) 1
 ออสเตรเลีย 3 (2010, 2014, 2018) 3
ทั้งหมด (18 ครั้ง) 18 18 12 12 14 74

หมายเหตุ:

  • เจ้าภาพ แสดงผลเป็น ตัวหนา

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "AFC Competitions Committee recommends changes to youth competitions". AFC. 26 November 2018.
  2. "AFC rebrands age group championships to AFC Asian Cups". AFC. 2 October 2020.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]