ข้ามไปเนื้อหา

ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 16 ปี 2016

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 16 ปี 2016
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพอินเดีย
วันที่15 กันยายน – 2 ตุลาคม พ.ศ. 2559
ทีม16 (จาก 1 สมาพันธ์)
สถานที่2 (ใน 2 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศ อิรัก (สมัยที่ 1)
รองชนะเลิศ อิหร่าน
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน31
จำนวนประตู109 (3.52 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม32,983 (1,064 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดอิรัก Mohammed Dawood (6 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมอิรัก Mohammed Dawood
2014
2018
ปรับปรุงสถิติทั้งหมด ณ วันที่ 29 กันยายน 2559

การแข่งขัน ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 16 ปี 2016 เป็นการแข่งขันครั้งที่ 17 ของ ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 16 ปี, เป็นการแข่งขันทัวร์นาเมนต์ฟุตบอลยุวชนที่จัดขึ้นสองปีต่อครั้ง จัดขึ้นโดย สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี) สำหรับทีมชาติประเภทชายรุ่นอายุไม่เกิน 16 ปี จากแต่ละชาติสมาชิกของพวกเขา. ทัวร์นาเมนต์จัดขึ้นที่ ประเทศอินเดีย, ตามประกาศของ เอเอฟซี ในวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2558.[1][2] การแข่งขันในปัจจุบันมีกำหนดที่จะลงเล่นระหว่างวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2558 และ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2559.[3]

สี่ทีมที่เข้ารอบรองชนะเลิศของการแข่งขันจะได้สิทธิ์สำหรับ ฟุตบอลเยาวชนชิงแชมป์โลกอายุไม่เกิน 17 ปี 2017 ในอินเดีย. ขณะที่อินเดียจะได้คุณสมบัติอัตโนมัติสำหรับฟุตบอลเยาวชนชิงแชมป์โลกอายุไม่เกิน 17 ปี 2017 ในฐานะเจ้าภาพ, หากพวกเขาติดอันดับหนึ่งในสี่ของการแข่งขัน, ทีมอันดับที่ห้า (เช่น, การพ่ายแพ้ต่อทีมในรอบก่อนรองชนะเลิศที่มีสถิติดีที่สุดในการแข่งขัน) ก็จะได้สิทธิ์สำหรับ ฟุตบอลเยาวชนชิงแชมป์โลกอายุไม่เกิน 17 ปี 2017.

รอบคัดเลือก[แก้]

ทั้งหมด 16 ทีมที่จะลงเล่นในทัวร์นาเมนต์. อินเดียได้สิทธิ์ในฐานะเป็นเจ้าภาพ, แต่ยังจะแข่งขันในรอบคัดเลือก, ที่จะลงเล่นระหว่างวันที่ 12–20 กันยายน พ.ศ. 2558, ซึ่งจะเป็นตัวกำหนด 15 ทีมที่เหลืออยู่.

ทีมที่เข้ารอบ[แก้]

ด้านล่างนี้คือทีมที่ผ่านเข้ารอบสำหรับทัวร์นาเมนต์รอบสุดท้าย.

ทีม ในฐานะ การลงสนามครั้งล่าสุด ผลงานที่ดีที่สุดครั้งที่ผ่านมา
 อินเดีย รองชนะเลิศ / เจ้าภาพ กลุ่ม อี (3rd best) 7th Quarter-finals (2002)
 อุซเบกิสถาน ชนะเลิศ กลุ่ม เอ 9th Champions (2012)
 โอมาน ชนะเลิศ กลุ่ม บี 9th Champions (1996, 2000)
 อิรัก ชนะเลิศ กลุ่ม ซี 9th Third place (1985), Semi-finals (2012)
 ซาอุดีอาระเบีย ชนะเลิศ กลุ่ม ดี 10th Champions (1985, 1988)
 อิหร่าน ชนะเลิศ กลุ่ม อี 10th Champions (2008)
 คูเวต ชนะเลิศ กลุ่ม เอฟ 6th Quarter-finals (2004, 2012)
 มาเลเซีย ชนะเลิศ กลุ่ม จี 4th Quarter-finals (2014)
 เกาหลีเหนือ ชนะเลิศ กลุ่ม เอช 10th Champions (2010, 2014)
 เกาหลีใต้ ชนะเลิศ กลุ่ม ไอ 12th Champions (1986, 2002)
 ออสเตรเลีย ชนะเลิศ กลุ่ม เจ 5th Semi-finals (2010, 2014)
 ญี่ปุ่น ชนะเลิศ กลุ่ม เค 13th Champions (1994, 2006)
 เวียดนาม รองชนะเลิศ กลุ่ม เจ (1st best) 6th Fourth place (2000)
 ไทย รองชนะเลิศ กลุ่ม เอช (2nd best) 10th ชนะเลิศ (1998)
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ รองชนะเลิศ กลุ่ม ดี (4th best) 7th Runners-up (1990)
24x20px link= เนปาล รองชนะเลิศ กลุ่ม บี (5th best) 4th Group stage (2000, 2006, 2014)

รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]

แชมป์กลุ่มและรองแชมป์กลุ่มจะได้ผ่านเข้าสู่ รอบก่อนรองชนะเลิศ.

เวลาทั้งหมดเป็นเวลาท้องถิ่น, IST (UTC+5:30).

กลุ่ม เอ[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  อิหร่าน 3 2 1 0 7 3 +4 7 รอบแพ้คัดออก
2  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 3 2 1 0 7 4 +3 7
3  ซาอุดีอาระเบีย 3 0 1 2 6 9 −3 1
4  อินเดีย (H) 3 0 1 2 5 9 −4 1
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 18 กันยายน ค.ศ. 2016. แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขการเข้ารอบแบ่งกลุ่ม
(H) เจ้าภาพ.
อิหร่าน 3–2 ซาอุดีอาระเบีย
Sayyad ประตู 47'
Ghaderi ประตู 69'
Asadabadi ประตู 70'
รายงาน Al Beshe ประตู 4'
Al Anazi ประตู 42'
ผู้ชม: 637 คน
ผู้ตัดสิน: Kim Dae-yong (KOR)
อินเดีย 2–3 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
Stalin ประตู 11'
Thangjam ประตู 36'
รายงาน Aydh ประตู 34'
Rashid ประตู 53'
Fawzi ประตู 74'
ผู้ชม: 1,014 คน
ผู้ตัดสิน: Hiroyuki Kimura (ญี่ปุ่น)

สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 1–1 อิหร่าน
Alazez ประตู 51' รายงาน Asadabadi ประตู 49'
ผู้ชม: 412 คน
ผู้ตัดสิน: Sukhbir Singh (Singapore)
ซาอุดีอาระเบีย 3–3 อินเดีย
Sulaiman ประตู 34'
Tariq ประตู 82'83'
รายงาน Jadhav ประตู 6'
Chetri ประตู 22'
Wangjam ประตู 90+5' (ลูกโทษ)
ผู้ชม: 4,137 คน
ผู้ตัดสิน: Wang Di (China)

อินเดีย 0–3 อิหร่าน
รายงาน Ghaderi ประตู 23'
Sharifi ประตู 81' (ลูกโทษ)90+1' (ลูกโทษ)
ซาอุดีอาระเบีย 1–3 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
Al Duraywish ประตู 65' รายงาน Fawzi ประตู 42'
Ali Khamis ประตู 74'
Al Naqbi ประตู 81'
ผู้ชม: 700 คน
ผู้ตัดสิน: Kim Dae-yong (South Korea)

กลุ่ม บี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  ญี่ปุ่น 3 3 0 0 21 0 +21 9 รอบแพ้คัดออก
2  เวียดนาม 3 2 0 1 6 10 −4 6
3  คีร์กีซสถาน 3 1 0 2 2 11 −9 3
4  ออสเตรเลีย 3 0 0 3 2 10 −8 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขการเข้ารอบแบ่งกลุ่ม
ออสเตรเลีย 0–1 คีร์กีซสถาน
รายงาน Kanybekov ประตู 76' (ลูกโทษ)
ผู้ชม: 100 คน
ผู้ตัดสิน: ศิวกร ภูอุดม (ไทย)
ญี่ปุ่น 7–0 เวียดนาม
Kubo ประตู 16'64'
Fukuoka ประตู 24'51'
Miyashiro ประตู 40'
Kemmotsu ประตู 79'
Yamada ประตู 85'
รายงาน
ผู้ชม: 100 คน
ผู้ตัดสิน: Aziz Asimov (Uzbekistan)

คีร์กีซสถาน 0–8 ญี่ปุ่น
รายงาน Tanahashi ประตู 34'54'80' (ลูกโทษ)
Kubo ประตู 42'90+2'
Nakamura ประตู 43'52'
Suzuki ประตู 56' (ลูกโทษ)
ผู้ชม: 250 คน
ผู้ตัดสิน: Yaqoob Abdul Baki (Oman)
เวียดนาม 3–2 ออสเตรเลีย
Thắng ประตู 51'61'
Duy Khiêm ประตู 86'
รายงาน Roberts ประตู 18'28'
ผู้ชม: 1,467 คน
ผู้ตัดสิน: Masoud Tufayelieh (Syria)

เวียดนาม 3–1 คีร์กีซสถาน
Khắc Khiêm ประตู 20'
Maksat ประตู 81' (เข้าประตูตัวเอง)
Việt Cường ประตู 88'
รายงาน

กลุ่ม ซี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  โอมาน 3 1 2 0 4 1 +3 5 รอบแพ้คัดออก
2  อิรัก 3 1 2 0 4 3 +1 5
3  เกาหลีใต้ 3 1 1 1 4 2 +2 4
4  มาเลเซีย 3 0 1 2 1 7 −6 1
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขการเข้ารอบแบ่งกลุ่ม
เกาหลีใต้ 1–2 อิรัก
Jeong Chan-young ประตู 43' รายงาน Muntadher Mohammed ประตู 45+2' (ลูกโทษ)50' (ลูกโทษ)
ผู้ชม: 462 คน
ผู้ตัดสิน: Rowan Arumughan (India)
มาเลเซีย 0–3 โอมาน
รายงาน Al-Alawi ประตู 20' (ลูกโทษ)78'
Malki ประตู 63' (ลูกโทษ)
ผู้ชม: 341 คน
ผู้ตัดสิน: Mooud Bonyadifard (Iran)

อิรัก 1–1 มาเลเซีย
Ridha Jalil ประตู 43' รายงาน Aliff ประตู 86'
ผู้ชม: 46 คน
ผู้ตัดสิน: Hiroyuki Kimura (Japan)
โอมาน 0–0 เกาหลีใต้
รายงาน
ผู้ชม: 812 คน
ผู้ตัดสิน: Aziz Asimov (Uzbekistan)

เกาหลีใต้ 3–0 มาเลเซีย
Park Jeong-in ประตู 4'
Cheon Seong-hoon ประตู 14' (ลูกโทษ)
Ko Jun-Hee ประตู 84'
รายงาน
ผู้ชม: 231 คน
ผู้ตัดสิน: Aziz Asimov (Uzbekistan)
โอมาน 1–1 อิรัก
Al Alawi ประตู 90' รายงาน Mohammed Dawood ประตู 37'
ผู้ชม: 1,106 คน
ผู้ตัดสิน: Wang Di (China)

กลุ่ม ดี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  อุซเบกิสถาน 3 3 0 0 9 4 +5 9 รอบแพ้คัดออก
2  เกาหลีเหนือ 3 2 0 1 7 4 +3 6
3  เยเมน 3 0 1 2 1 4 −3 1
4  ไทย 3 0 1 2 5 10 −5 1
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขการเข้ารอบแบ่งกลุ่ม
เกาหลีเหนือ 2–0 เยเมน
Kim Pom Hyok ประตู 61'75' รายงาน
ผู้ตัดสิน: Çarymyrat Kurbanow (Turkmenistan)
อุซเบกิสถาน 5–3 ไทย
Abubakir ประตู 24' (ลูกโทษ)78'
Rasul ประตู 45+3' (ลูกโทษ)89'
วุฒิชัย ประตู 58' (เข้าประตูตัวเอง)
Mardon ประตู 82'
รายงาน จิณณวัตร ประตู 2'
อานนท์ ประตู 59'90+4'
ผู้ตัดสิน: Khamis Al Marri (Qatar)

เยเมน 0–1 อุซเบกิสถาน
รายงาน Sobirjonov ประตู 69'
ผู้ชม: 550 คน
ผู้ตัดสิน: Rowan Arumughan (India)
ไทย 1–4 เกาหลีเหนือ
หัสวรรษ ประตู 69' รายงาน Kye Tam ประตู 41' (ลูกโทษ)63'67'
Ri Kang-guk ประตู 79'
ผู้ชม: 1,150 คน
ผู้ตัดสิน: Mooud Bonyadifard (Iran)

เกาหลีเหนือ 1–3 อุซเบกิสถาน
Ri Kang-guk ประตู 75' รายงาน Umrzakov ประตู 49'
Yuldoshov ประตู 62'
Ganikhonov ประตู 68'
ผู้ชม: 973 คน
ผู้ตัดสิน: Masoud Tufayelieh (Syria)
ไทย 1–1 เยเมน
ณัฐพร ประตู 47' รายงาน หัสวรรษ ประตู 27' (เข้าประตูตัวเอง)
ผู้ชม: 377 คน
ผู้ตัดสิน: Çarymyrat Kurbanow (Turkmenistan)

รอบแพ้คัดออก[แก้]

ในรอบแพ้คัดออก, ดวลลูกโทษตัดสิน เป็นการใช้ตัดสินหาผู้ชนะในกรณีที่จำเป็น (การต่อเวลาพิเศษ ไม่ได้นำมาใช้) .[4]

สายการแข่งขัน[แก้]

 
รอบ 8 ทีมรอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
          
 
25 กันยายน – Margao
 
 
 อิหร่าน5
 
29 กันยายน – Margao
 
 เวียดนาม0
 
 อิหร่าน (ลูกโทษ)1 (6)
 
26 กันยายน – Margao
 
 เกาหลีเหนือ1 (5)
 
 โอมาน1 (2)
 
2 ตุลาคม – Margao
 
 เกาหลีเหนือ (ลูกโทษ)1 (4)
 
 อิหร่าน0 (3)
 
25 กันยายน – Bambolim
 
 อิรัก (ลูกโทษ)0 (4)
 
 ญี่ปุ่น1
 
29 กันยายน – Bambolim
 
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์0
 
 ญี่ปุ่น2
 
26 กันยายน – Bambolim
 
 อิรัก4
 
 อุซเบกิสถาน0
 
 
 อิรัก2
 

รอบก่อนรองชนะเลิศ (รอบ 8 ทีมสุดท้าย)[แก้]

ผู้ชนะจะได้สิทธิ์สำหรับ ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 17 ปี 2017.

อิหร่าน 5–0 เวียดนาม
Sayyad ประตู 30'72'
Ghaderi ประตู 47'
Asadabadi ประตู 62'
Khodamoradi ประตู 69'
รายงาน
ผู้ชม: 557 คน
ผู้ตัดสิน: Hiroyuki Kimura (Japan)

ญี่ปุ่น 1–0 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
Seko ประตู 31' รายงาน
ผู้ชม: 2,428 คน
ผู้ตัดสิน: Mooud Bonyadifard (Iran)


อุซเบกิสถาน 0–2 อิรัก
รายงาน Mohammed Dawood ประตู 7'79'
ผู้ชม: 1,673 คน
ผู้ตัดสิน: Wang Di (China)

รอบรองชนะเลิศ[แก้]

ญี่ปุ่น 2–4 อิรัก
Yamada ประตู 29'42' รายงาน Dawood ประตู 18'81' (ลูกโทษ)90+4' (ลูกโทษ)
Abdulsada ประตู 67'
ผู้ชม: 1,542 คน
ผู้ตัดสิน: Rowan Arumughan (India)

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

อิหร่าน 0–0 อิรัก
รายงาน
ลูกโทษ
Sharifi Penalty scored
Namdari Penalty scored
Ahani Missed
Shariati Missed
Esmaeilzadeh Penalty scored
3–4 Penalty scored Omar
Penalty scored Abdulsada
Penalty scored Radha
Missed Mohammed
Penalty scored Dawood
ผู้ชม: 2,237 คน
ผู้ตัดสิน: Wang Di (China)

อันดับดาวซัลโว[แก้]

6 ประตู
4 ประตู
3 ประตู
2 ประตู
1 ประตู
1 การทำเข้าประตูตัวเอง

อันดับตาราง[แก้]

As per statistical convention in football, matches decided in extra time are counted as wins and losses, while matches decided by penalty shoot-outs are counted as draws.

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน ผลการแข่งขัน
1  อิรัก 6 3 3 0 10 5 +5 12 แชมป์
2  อิหร่าน 6 3 3 0 13 4 +9 12 รองแชมป์
3  ญี่ปุ่น 5 4 0 1 24 4 +20 12 อันดับที่สาม
4  เกาหลีเหนือ 5 2 2 1 9 6 +3 8
5  อุซเบกิสถาน 4 3 0 1 9 6 +3 9 ตกรอบใน
รอบก่อนรองชนะเลิศ
6  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 4 2 1 1 7 5 +2 7
7  โอมาน 4 1 3 0 5 2 +3 6
8  เวียดนาม 4 2 0 2 6 15 −9 6
9  เกาหลีใต้ 3 1 1 1 4 2 +2 4 ตกรอบใน
รอบแบ่งกลุ่ม
10  คีร์กีซสถาน 3 1 0 2 2 11 −9 3
11  ซาอุดีอาระเบีย 3 0 1 2 6 9 −3 1
12  เยเมน 3 0 1 2 1 4 −3 1
13  อินเดีย (H) 3 0 1 2 5 9 −4 1
14  ไทย 3 0 1 2 5 10 −5 1
15  มาเลเซีย 3 0 1 2 1 7 −6 1
16  ออสเตรเลีย 3 0 0 3 2 10 −8 0
แหล่งที่มา : AFC
(H) เจ้าภาพ.

อ้างอิง[แก้]

  1. "India to host AFC U-16 Championship 2016". เอเอฟซี. 3 มิถุนายน 2558.
  2. "INDIA WIN AFC U-16 BID". All India Football Federation. สืบค้นเมื่อ 2015-06-02.
  3. "AFC Calendar of Competitions 2016 - 2018" (PDF). AFC.
  4. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ regulations

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]