ข้ามไปเนื้อหา

ฟุตบอลโลก รุ่นอายุไม่เกิน 17 ปี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก ฟุตบอลโลกเยาวชน ยู 17)
ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 17 ปี
ผู้จัดฟีฟ่า
ก่อตั้ง1985; 40 ปีที่แล้ว (1985)
ภูมิภาคทั่วโลก
จำนวนทีม48 (รอบสุดท้าย)
การแข่งขันที่เกี่ยวข้องฟุตบอลโลก รุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี
ทีมชนะเลิศปัจจุบัน บราซิล (สมัยที่ 4)
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุด ไนจีเรีย (5 สมัย)
เว็บไซต์fifa.com/u17worldcup
ฟุตบอลโลก รุ่นอายุไม่เกิน 17 ปี 2023

ฟุตบอลโลก รุ่นอายุไม่เกิน 17 ปี (อังกฤษ: FIFA U-17 World Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์โลกสำหรับผู้เล่นชายที่อายุไม่เกิน 17 ปี จัดการแข่งขันโดยฟีฟ่า ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1985 ซึ่งแข่งขันกันทุก ๆ 2 ปีนับแต่นั้น โดยเริ่มแรกผู้เล่นจะมีอายุไม่เกิน 16 ปี มีชื่อรายการว่า ฟุตบอลชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 16 ปี ก่อนเปลี่ยนเป็นอายุไม่เกิน 17 ปีในชื่อเดียวกันเมื่อปี ค.ศ. 1991 และเปลี่ยนชื่อรายการเป็นปัจจุบันในปี ค.ศ. 2007 ผู้ชนะทีมปัจจุบันคือบราซิล หลังเอาชนะการแข่งขันในปี ค.ศ. 2019 ซึ่งเป็นสมัยที่ 4 ที่พวกเขาเป็นเจ้าภาพ ขณะที่ ไนจีเรียคือทีมที่ชนะการแข่งขันมากที่สุด เป็นจำนวน 5 ครั้ง

การคัดเลือก

[แก้]

ประเทศเจ้าภาพได้สิทธิ์เข้าแข่งขันโดยอัตโนมัติ. โดยทีมที่ผ่านในรอบคัดเลือกระดับทวีปทั้งหกโซน. เริ่มขึ้นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1985,โดยทีมที่เข้าแข่งส่วนใหญ่มาจากโซนยุโรป และ อีกหนึ่งทีมจาดอเมริกาใต้คือ โบลิเวีย.

สมาพันธ์ การแข่งขัน
เอเอฟซี (เอเชีย) ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 17 ปี
ซีเอเอฟ (แอฟริกา) แอฟริกาคัพออฟเนชันส์ รุ่นอายุไม่เกิน 17 ปี
คอนคาแคฟ (อเมริกาเหนือ, อเมริกากลาง และ แคริบเบียน) ฟุตบอลชิงแชมป์คอนคาแคฟ รุ่นอายุไม่เกิน 17 ปี
คอนเมบอล (อเมริกาใต้) ฟุตบอลชิงแชมป์อเมริกาใต้ รุ่นอายุไม่เกิน 17 ปี
โอเอฟซี (โอเซียเนีย) ฟุตบอลชิงแชมป์โอเชียเนีย รุ่นอายุไม่เกิน 16/17 ปี
ยูฟ่า (ยุโรป) ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป รุ่นอายุไม่เกิน 17 ปี

การแข่งขัน

[แก้]

สรุปผลการแข่งขัน

[แก้]
ปี เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงอันดับสาม จำนวนทีมที่เข้าร่วม
ชนะเลิศ คะแนน รองชนะเลิศ อันดับสาม คะแนน อันดับสี่
1985
รายละเอียด
 จีน  ไนจีเรีย 2–0  เยอรมนีตะวันตก  บราซิล 4–1  กินี 16
1987
รายละเอียด
 แคนาดา  สหภาพโซเวียต 1–1 a.e.t.
(4–2 PSO)
 ไนจีเรีย  โกตดิวัวร์ 2–1 a.e.t.  อิตาลี 16
1989
รายละเอียด
 สกอตแลนด์  ซาอุดีอาระเบีย 2–2 a.e.t.
(5–4 PSO)
 สกอตแลนด์  โปรตุเกส 3–0  บาห์เรน 16
1991
รายละเอียด
 อิตาลี  กานา 1–0  สเปน  อาร์เจนตินา 1–1 a.e.t.
(4–1 PSO)
 กาตาร์ 16
1993
รายละเอียด
 ญี่ปุ่น  ไนจีเรีย 2–1  กานา  ชิลี 1–1 a.e.t.
(4–2 PSO)
 โปแลนด์ 16
1995
รายละเอียด
 เอกวาดอร์  กานา 3–2  บราซิล  อาร์เจนตินา 2–0  โอมาน 16
1997
รายละเอียด
 อียิปต์  บราซิล 2–1  กานา  สเปน 2–1  เยอรมนี 16
1999
รายละเอียด
 นิวซีแลนด์  บราซิล 0–0 a.e.t.
(8–7 PSO)
 ออสเตรเลีย  กานา 2–0  สหรัฐ 16
2001
รายละเอียด
 ตรินิแดดและโตเบโก  ฝรั่งเศส 3–0  ไนจีเรีย  บูร์กินาฟาโซ 2–0  อาร์เจนตินา 16
2003
รายละเอียด
 ฟินแลนด์  บราซิล 1–0  สเปน  อาร์เจนตินา 1–1 a.e.t.
(5–4 PSO)
 โคลอมเบีย 16
2005
รายละเอียด
 เปรู  เม็กซิโก 3–0  บราซิล  เนเธอร์แลนด์ 2–1  ตุรกี 16
2007
รายละเอียด
เกาหลีใต้ เกาหลีใต้  ไนจีเรีย 0–0 a.e.t.
(3–0 PSO)
 สเปน  เยอรมนี 2–1  กานา 24
2009
รายละเอียด
 ไนจีเรีย   สวิตเซอร์แลนด์ 1–0  ไนจีเรีย  สเปน 1–0  โคลอมเบีย 24
2011
รายละเอียด
 เม็กซิโก  เม็กซิโก 2–0  อุรุกวัย  เยอรมนี 4–3  บราซิล 24
2013
รายละเอียด
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์  ไนจีเรีย 3–0  เม็กซิโก  สวีเดน 4–1  อาร์เจนตินา 24
2015
รายละเอียด
 ชิลี  ไนจีเรีย 2–0  มาลี  เบลเยียม 3–2  เม็กซิโก 24
2017
รายละเอียด
 อินเดีย  อังกฤษ 5–2  สเปน  บราซิล 2–0  มาลี 24
2019
รายละเอียด
 บราซิล  บราซิล 2–1  เม็กซิโก  ฝรั่งเศส 3–1  เนเธอร์แลนด์ 24
2023
รายละเอียด
 อินโดนีเซีย  เยอรมนี 2–2
(4–3 PSO)
 ฝรั่งเศส  มาลี 3–0  อาร์เจนตินา 24
2025
รายละเอียด
 กาตาร์ 48
2026
รายละเอียด
48
2027
รายละเอียด
48
2028
รายละเอียด
48
2029
รายละเอียด
48

ผลการแข่งขันที่ผ่านมา

[แก้]
ทีม ชนะเลิศ รองชนะเลิศ อันดับที่สาม อันดับที่สี่
 ไนจีเรีย 5 (1985, 1993, 2007, 2013, 2015) 3 (1987, 2001, 2009)
 บราซิล 4 (1997, 1999, 2003, 2019) 2 (1995, 2005) 2 (1985, 2017) 1 (2011)
 กานา 2 (1991, 1995) 2 (1993, 1997) 1 (1999) 1 (2007)
 เม็กซิโก 2 (2005, 2011) 2 (2013, 2019) 1 (2015)
 เยอรมนี1 1 (2023) 1 (1985) 2 (2007, 2011) 1 (1997)
 ฝรั่งเศส 1 (2001) 1 (2023) 1 (2019)
 สหภาพโซเวียต 1 (1987)
 ซาอุดีอาระเบีย 1 (1989)
  สวิตเซอร์แลนด์ 1 (2009)
 อังกฤษ 1 (2017)
 สเปน 4 (1991, 2003, 2007, 2017) 2 (1997, 2009)
 มาลี 1 (2015) 1 (2023) 1 (2017)
 สกอตแลนด์ 1 (1989)
 ออสเตรเลีย 1 (1999)
 อุรุกวัย 1 (2011)
 อาร์เจนตินา 3 (1991, 1995, 2003) 3 (2001, 2013, 2023)
 เนเธอร์แลนด์ 1 (2005) 1 (2019)
 โกตดิวัวร์ 1 (1987)
 โปรตุเกส 1 (1989)
 ชิลี 1 (1993)
 บูร์กินาฟาโซ 1 (2001)
 สวีเดน 1 (2013)
 เบลเยียม 1 (2015)
 โคลอมเบีย 2 (2003, 2009)
 กินี 1 (1985)
 อิตาลี 1 (1987)
 บาห์เรน 1 (1989)
 กาตาร์ 1 (1991)
 โปแลนด์ 1 (1993)
 โอมาน 1 (1995)
 สหรัฐ 1 (1999)
 ตุรกี 1 (2005)
1รวมถึงผลในนามเยอรมนีตะวันตก

ทีมที่เข้าร่วมการแข่งขัน

[แก้]
แผนที่ของทีมประเทศต่าง ๆ กับผลงานที่ดีที่สุด
แผนที่ของทีมประเทศต่าง ๆ กับผลงานที่ดีที่สุด

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]