ข้ามไปเนื้อหา

บุนเดิสลีกา ฤดูกาล 2019–20

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
บุนเดิสลีกา
ฤดูกาล2019–20
วันที่16 สิงหาคม 2019 – 27 มิถุนายน 2020
ทีมชนะเลิศไบเอิร์นมิวนิก
แชมป์บุนเดิสลีกาสมัยที่ 29
แชมป์ลีกสูงสุดเยอรมัน สมัยที่ 30
ตกชั้นฟอร์ทูนาดึสเซิลดอร์ฟ
เอ็สเซ พาเดอร์บอร์น
แชมเปียนส์ลีกไบเอิร์นมิวนิก
โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์
แอร์เบ ไลพ์ซิช
โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค
ยูโรปาลีกไบเออร์เลเวอร์คูเซิน
1899 ฮ็อฟเฟินไฮม์
เฟาเอ็ฟเอ็ล ว็อลฟส์บวร์ค
จำนวนนัด306
จำนวนประตู982 (3.21 ประตูต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดรอแบร์ต แลวันดอฟสกี
(34 ประตู)
ทีมเหย้า
ชนะสูงสุด
ไลพ์ซิช 8–0 ไมนทซ์
ทีมเยือน
ชนะสูงสุด
ฮ็อฟเฟินไฮม์ 0–6 มิวนิก
จำนวนประตูสูงสุดไลพ์ซิช 8–0 ไมนทซ์
เอาคส์บวร์ค 3–5 ดอร์ทมุนท์
ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
ไบเอิร์นมิวนิก (13 นัด)[1]
ไม่แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
ไบเอิร์นมิวนิก
(20 นัด)[1]
ไม่ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
ชัลเคอ 04
(16 นัด)[1]
แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
เบรเมิน
แฮร์ทา
เอ็สเซ พาเดอร์บอร์น
ไอน์ทรัคท์ฟรังค์ฟวร์ท
(5 นัด)[1]
จำนวนผู้ชมสูงสุด81,365 คน
ดอร์ทมุนท์ พบ เอาคส์บวร์ค[1]
จำนวนผู้ชมต่ำสุดPre-spectatorless matches:[a]
14,217 คน
พาเดอร์บอร์น พบ ไมนทซ์[1]
การเข้าร่วม9,112,950 (29,781 ประตูต่อนัด)[b]

บุนเดิสลีกา ฤดูกาล 2019–20 (อังกฤษ: 2019–20 Bundesliga) เป็นการแข่งขันบุนเดิสลีกา ฤดูกาลที่ 57 เริ่มต้นฤดูกาลในวันที่ 16 สิงหาคม ค.ศ. 2019 และสิ้นสุดในวันที่ 20 พฤษภาคม ค.ศ. 2020[2] ไบเอิร์นมิวนิก คือทีมที่ชนะเลิศเมื่อฤดูกาลที่แล้ว

จำนวนผู้เล่นในม้านั่งสำรองเพิ่มขึ้นจากเจ็ดเป็นเก้าคนในฤดูกาล 2019–20[3]

เมื่อวันที่ 13 มีนาคม ค.ศ. 2020 เดเอ็ฟเอ็ล ระงับบุนเดิสลีกาและซไวเทอบุนเดิสลีกา เนื่องจากการระบาดทั่วของไวรัสโคโรนา[4] หลังจากการปรึกษาหารือกับรัฐบาลเยอรมันแล้ว ลีกจะกลับมาแข่งขันอีกครั้งในรูปแบบปิดในวันที่ 16 พฤษภาคม ค.ศ. 2020.[5] เนื่องมาจากการเลื่อนการแข่งขัน, โปรแกรมการแข่งขันแมตช์สุดท้ายเมื่อวันที่ 27 มิถุนายนเป็นวันที่สองล่าสุดในฤดูกาลใดๆของบุนเดิสลีกา ได้มีข้อสรุป, หลังจาก ฤดูกาล 1971–72 (ซึ่งจะสรุปในวันต่อมา).[6]

ทีม

[แก้]

ทีมเข้าแข่งขันในฤดูกาล 2019–20 มีทั้งหมด 18 ทีม

สนามและที่ตั้ง

[แก้]
ทีม ที่ตั้ง สนาม ความจุ
(ที่นั่ง)
อ้างอิง
เอ็ฟเซ เอาคส์บวร์ค เอาคส์บวร์ค เวเวคาอาเรนา 30,660 [7]
แฮร์ทา เบเอ็สเซ เบอร์ลิน โอลึมพีอาชตาดีอ็อน 74,649 [8]
อูนีโอนแบร์ลีน เบอร์ลิน ชตาดีอ็อนอันแดร์อัลเทินเฟิร์สเทอไร 22,012 [9]
แวร์เดอร์เบรเมิน เบรเมิน เวเซอร์ชตาดีอ็อน 42,100 [10]
โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ ดอร์ทมุนท์ ซิกนาลอีดูนาพาร์ค 81,365 [11]
ฟอร์ทูนาดึสเซิลดอร์ฟ ดึสเซิลดอร์ฟ แมร์คัวร์ชปีล-อาเรนา 54,600 [12]
ไอน์ทรัคท์ฟรังค์ฟวร์ท แฟรงก์เฟิร์ต ค็อมแมทซ์บังค์-อาเรนา 51,500 [13]
เอ็สเซ ไฟรบวร์ค ไฟรบวร์คอิมไบรส์เกา ชวาทซ์วัลท์-ชตาดีอ็อน 24,000 [14]
1899 ฮ็อฟเฟินไฮม์ ซินส์ไฮม์ พรีซีโรอาเรนา 30,150 [15]
แอร์สเทอ เอ็ฟเซ เคิลน์ โคโลญ ไรน์เอแนร์กีชตาดีอ็อน 49,698 [16]
แอร์เบ ไลพ์ซิช ไลพ์ซิช เร็ทบุลอาเรนา 42,558 [17]
ไบเออร์เลเวอร์คูเซิน เลเวอร์คูเซิน ไบอาเรนา 30,210 [18]
ไมนทซ์ 05 ไมนทซ์ โอเพิลอาเรนา 34,000 [19]
โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค เมินเชินกลัทบัค โบรุสซีอา-พาร์ค 59,724 [20]
ไบเอิร์นมิวนิก มิวนิก อัลลีอันทซ์อาเรนา 75,000 [21]
เอ็สเซ พาเดอร์บอร์น พาเดอร์บอร์น เบ็นเทอเลอร์-อาเรนา 15,000 [22]
ชัลเคอ 04 เก็ลเซินเคียร์เชิน เฟ็ลทินส์-อาเรนา 62,271 [23]
เฟาเอ็ฟเอ็ล ว็อลฟส์บวร์ค ว็อลฟส์บวร์ค ฟ็อลคส์วาเกินอาเรนา 30,000 [24]

บุคลากรและชุดแข่งขัน

[แก้]
ทีม ผู้จัดการ[25] กัปตัน ผู้ผลิตเสื้อ[26] ผู้สนับสนุน[26]
อก แขน
เอ็ฟเซ เอาคส์บวร์ค เยอรมนี ไฮโค แฮร์ลิช เยอรมนี ดานีเอล ไบเออร์ ไนกี้ เวเวคา ซีคมุนท์
แฮร์ทา เบเอ็สเซ เยอรมนี บรูโน ลับบาดีอา บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา เวดัด อิบีเชวิช ไนกี้ เทดี บริษัท ฮุนได มอเตอร์
อูนีโอนแบร์ลีน สวิตเซอร์แลนด์ อวร์ส ฟิชเชอร์ เยอรมนี คริสโทเฟอร์ ทริมเมิล มากรอน อะราวนด์ทาวน์ ค็อคเอาโทโมบีล
แวร์เดอร์เบรเมิน เยอรมนี โฟลรีอาน โคเฟ็ลท์ ฟินแลนด์ นิกลัส ม็อยซันเดร์ อัมโบร วีเซินโฮฟ ฮา-โฮเท็ลส์
โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ สวิตเซอร์แลนด์ ลูว์เซียง ฟาฟวร์ เยอรมนี มาร์โค ร็อยส์ พูมา อิวอนิก โอเพิล
ฟอร์ทูนาดึสเซิลดอร์ฟ เยอรมนี ฟรีทเฮ็ล์ม ฟุงเคิล เยอรมนี อ็อลลีเวอร์ ฟิงค์ อูลชปอร์ท[27] เฮ็งเคิล โตโย ไทร์
ไอน์ทรัคท์ฟรังค์ฟวร์ท ออสเตรีย อาดี ฮึทเทอร์ อาร์เจนตินา ดาบิด อาบราอัม ไนกี้ อินดีดดอตคอม ด็อยท์เชอเบอร์เซอ
เอ็สเซ ไฟรบวร์ค เยอรมนี คริสทีอัน ชไตรช์ เยอรมนี ไมค์ ฟรันทซ์ ฮัมเมล ชวาทซ์วัลท์มิลช์ Badenova
1899 ฮ็อฟเฟินไฮม์ เนเธอร์แลนด์ อัลเฟริด สเครอเดอร์ เยอรมนี เควิน โฟคท์ โจมา ซัพ โพรวิน
แอร์สเทอ เอ็ฟเซ เคิลน์ เยอรมนี อัคคิม ไบเออร์ลอร์ทเซอร์ เยอรมนี โยนัส เฮ็คทอร์ อูลชปอร์ท เรเวอ เดเอเฟาคา
แอร์เบ ไลพ์ซิช เยอรมนี ยูลีอาน นาเกิลส์มัน ฮังการี วิลลี โอร์บาน ไนกี้ เรดบูล เซเก อิมโมบีเลียน
ไบเออร์เลเวอร์คูเซิน เนเธอร์แลนด์ เปเตอร์ โบส เยอรมนี ลาร์ส เบ็นเดอร์ ยาโค บาร์เมนีอาแฟร์ซิชเชอรุงเงิน คีเซอร์เทรนนิง
ไมนทซ์ 05 เยอรมนี ซันโดร ชวาทซ์ เยอรมนี ดันนี ลัทซา ลอตโต เคิมเมอร์ลิง QQ288
โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค เยอรมนี มาร์โค โรเซอ เยอรมนี ลาร์ส ชตินเดิล พูมา พ็อสท์บังค์ ฮา-โฮเท็ลส์
ไบเอิร์นมิวนิก โครเอเชีย นิคอ คอวัช เยอรมนี มานูเอ็ล น็อยเออร์ อาดิดาส ด็อยท์เชอเทเลอค็อม กาตาร์แอร์เวย์
เอ็สเซ พาเดอร์บอร์น เยอรมนี ชเต็ฟเฟิน เบาม์การ์ท เยอรมนี คริสทีอัน ชโตรดีค ซัลเลอร์ ซันเมกเกอร์ อิฟเฟ็กต์เอ็นเนอร์จีดริงก์
ชัลเคอ 04 สหรัฐอเมริกา ดาวิท วากเนอร์ เยอรมนี อเล็คซันเดอร์ นือเบิล อัมโบร กัซโปรม ดีเอชแอลเอกซ์เพรสส์
เฟาเอ็ฟเอ็ล ว็อลฟส์บวร์ค ออสเตรีย อ็อลลีเวอร์ กลัสเนอร์ ฝรั่งเศส โฌซัว กีลาโวกี ไนกี้ ฟ็อลคส์วาเกิน ยูพีเอส

การเปลี่ยนแปลงผู้จัดการทีม

[แก้]
ทีม ผู้จัดการทีมที่ออก สาเหตุ วันที่ออก อันดับในตาราคะแนน ผู้จัดการทีมคนใหม่ วันที่ได้รับการแต่งตั้ง อ้างอิง
ประกาศ ณ วันที่ ออก ณ วันที่ ประกาศ ณ วันที่ ย้ายเข้า ณ วันที่
1899 ฮ็อฟเฟินไฮม์ เยอรมนี ยูลีอาน นาเกิลส์มัน เซ็นสัญญากับแอร์เบ ไลพ์ซิช 21 มิถุนายน 2018 30 มิถุนายน 2019 ก่อนฤดูกาล เนเธอร์แลนด์ อัลเฟริด สเครอเดอร์ 19 มีนาคม 2019 1 กรกฎาคม 2019 [28][29]
แอร์เบ ไลพ์ซิช เยอรมนี รัล์ฟ รังนิค แต่งตั้งเป็นผู้อำนวยการฝ่ายกีฬา 9 กรกฎาคม 2018 เยอรมนี ยูลีอาน นาเกิลส์มัน 21 มิถุนายน 2018 [30][28]
เฟาเอ็ฟเอ็ล ว็อลฟส์บวร์ค เยอรมนี บรูโน ลับบาดีอา สิ้นสุดสัญญา 12 มีนาคม 2019 ออสเตรีย อ็อลลีเวอร์ กลัสเนอร์ 23 เมษายน 2019 [31][32]
ชัลเคอ 04 เนเธอร์แลนด์ ฮูบ สตีเวินส์ สิ้นสุดการเป็นรักษาการ 14 มีนาคม 2019 สหรัฐอเมริกา ดาวิท วากเนอร์ 9 พฤษภาคม 2019 [33][34]
โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค เยอรมนี ดีเทอร์ เฮ็คคิง ถูกไล่ออก 2 เมษายน 2019 เยอรมนี มาร์โค โรเซอ 10 เมษายน 2019 [35][36]
แฮร์ทา เบเอ็สเซ ฮังการี ปัล ดาร์ได ความยินยอมร่วมกัน 16 เมษายน 2019 โครเอเชีย อันเต ชอวิช 12 พฤษภาคม 2019 [37][38]
แอร์สเทอ เอ็ฟเซ เคิลน์ เยอรมนี อันเดร ปอว์ลัค / ออสเตรีย มันเฟรด ชมิด (รักษาการ) สิ้นสุดการเป็นรักษาการ 27 เมษายน 2019 เยอรมนี อัคคิม ไบเออร์ลอร์ทเซอร์ 13 พฤษภาคม 2019 [39][40]
ไบเอิร์นมิวนิก โครเอเชีย นิคอ คอวัช ความยินยอมร่วมกัน 3 พฤศจิกายน 2019 อันดับที่ 4 เยอรมนี ฮันส์-ไดเทอร์ ฟลิค (รักษาการ) 3 พฤศจิกายน 2019 [41][42]
แอร์สเทอ เอ็ฟเซ เคิลน์ เยอรมนี อัคคิม ไบเออร์ลอร์ทเซอร์ ถูกไล่ออก 9 พฤศจิกายน 2019 อันดับที่ 17 เยอรมนี มาร์คุส กิสดอล 18 พฤศจิกายน 2019 [43][44]
ไมนทซ์ 05 เยอรมนี ซันโดร ชวาร์ซ ความยินยอมร่วมกัน 10 พฤศจิกายน 2019 อันดับที่ 16 เยอรมนี อัคคิม ไบเออร์ลอร์ทเซอร์ 18 พฤศจิกายน 2019 [45][46]
แฮร์ทา เบเอ็สเซ โครเอเชีย อันเต ชอวิช ความยินยอมร่วมกัน 27 พฤศจิกายน 2019 อันดับที่ 15 เยอรมนี เยือร์เกิน คลีนส์มัน 27 พฤศจิกายน 2019 [47][48]
ฟอร์ทูนาดึสเซิลดอร์ฟ เยอรมนี ฟรีดเฮล์ม ฟันเคิล ถูกไล่ออก 29 มกราคม 2020 อันดับที่ 18 เยอรมนี อูแว รอสเลอร์ 29 มกราคม 2020 [49][50]
แฮร์ทา เบเอ็สเซ เยอรมนี เยือร์เกิน คลีนส์มัน ลาออก 11 กุมภาพันธ์ 2020 อันดับที่ 14 เยอรมนี อาเล็กซันเดอร์ นูรี (รักษาการ) 11 กุมภาพันธ์ 2020 [51]
เอ็ฟเซ เอาคส์บวร์ค สวิตเซอร์แลนด์ มาร์ทีน ชมิท ถูกไล่ออก 9 มีนาคม 2020 อันดับที่ 14 เยอรมนี ไฮโค แฮร์ลิช 10 มีนาคม 2020 [52][53]
แฮร์ทา เบเอ็สเซ เยอรมนี อาเล็กซานเดอร์ นูรี (รักษาการ) สิ้นสุดการเป็นรักษาการ 9 เมษายน 2020 อันดับที่ 14 เยอรมนี บรูโน ลับบาดีอา 9 เมษายน 2020 13 เมษายน 2020 [54]

ตารางคะแนน

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบหรือการตกชั้น
1 ไบเอิร์นมิวนิก (C) 34 26 4 4 100 32 +68 82 ผ่านเข้าสู่แชมเปียนส์ลีก รอบแบ่งกลุ่ม
2 โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ 34 21 6 7 84 41 +43 69
3 แอร์เบ ไลพ์ซิช 34 18 12 4 81 37 +44 66
4 โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค 34 20 5 9 66 40 +26 65
5 ไบเออร์เลเวอร์คูเซิน 34 19 6 9 61 44 +17 63 ผ่านเข้าสู่ยูโรปาลีก รอบแบ่งกลุ่ม
6 1899 ฮ็อฟเฟินไฮม์ 34 15 7 12 53 53 0 52
7 เฟาเอ็ฟเอ็ล ว็อลฟส์บวร์ค 34 13 10 11 48 46 +2 49 ผ่านสู่ยูโรปาลีก รอบคัดเลือกรอบสอง
8 เอ็สเซ ไฟรบวร์ค 34 13 9 12 48 47 +1 48
9 ไอน์ทรัคท์ฟรังค์ฟวร์ท 34 13 6 15 59 60 −1 45
10 แฮร์ทา เบเอ็สเซ 34 11 8 15 48 59 −11 41
11 อูนีโอนแบร์ลีน 34 12 5 17 41 58 −17 41
12 ชัลเคอ 04 34 9 12 13 38 58 −20 39
13 ไมนทซ์ 05 34 11 4 19 44 65 −21 37
14 แอร์สเทอร์ เอ็ฟเซ เคิลน์ 34 10 6 18 51 69 −18 36
15 เอ็ฟเซ เอาคส์บวร์ค 34 9 9 16 45 63 −18 36
16 แวร์เดอร์เบรเมิน (O) 34 8 7 19 42 69 −27 31 ผ่านสู่รอบเพลย์ออฟตกชั้น
17 ฟอร์ทูนาดึสเซิลดอร์ฟ (R) 34 6 12 16 36 67 −31 30 ตกชั้นสู่ซไวเทอบุนเดิสลีกา
18 เอ็สเซ พาเดอร์บอร์น (R) 34 4 8 22 37 74 −37 20
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุดในนัดการแข่งขันที่ลงเล่นในวันที่ 27 มิถุนายน ค.ศ. 2020. แหล่งข้อมูล: DFB
กฏการจัดอันดับ: 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตู; 3) ประตูรวม; 4) คะแนนจากการพบกัน; 5) ผลต่างประตูจากการพบกัน; 6) ประตูทีมเยือนที่ทำได้จากการพบกัน; 7) ประตูทีมเยือนที่ทำได้; 8) เพลย์ออฟ[55]
(C) ชนะเลิศ; (O) ชนะเลิศเพลย์-ออฟ; (R) ตกชั้น

ผลการแข่งขัน

[แก้]
เหย้า / เยือน AUG BSC UNB BRE DOR DÜS FRA FRE HOF KÖL LEI LEV MAI MÖN MUN PAD SCH WOL
เอ็ฟเซ เอาคส์บวร์ค 4–0 1–1 2–1 3–5 3–0 2–1 1–1 1–3 1–1 1–2 0–3 2–1 2–3 2–2 0–0 2–3 1–2
แฮร์ทา เบเอ็สเซ 2–0 4–0 2–2 1–2 3–1 1–4 1–0 2–3 0–5 2–4 2–0 1–3 0–0 0–4 2–1 0–0 0–3
อูนีโอนแบร์ลีน 2–0 1–0 1–2 3–1 3–0 1–2 2–0 0–2 2–0 0–4 2–3 1–1 2–0 0–2 1–0 1–1 2–2
แวร์เดอร์เบรเมิน 3–2 1–1 0–2 0–2 1–3 0–3 2–2 0–3 6–1 0–3 1–4 0–5 0–0 0–1 0–1 1–2 0–1
โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ 5–1 1–0 5–0 2–2 5–0 4–0 1–0 0–4 5–1 3–3 4–0 0–2 1–0 0–1 3–3 4–0 3–0
ฟอร์ทูนาดึสเซิลดอร์ฟ 1–1 3–3 2–1 0–1 0–1 1–1 1–2 2–2 2–0 0–3 1–3 1–0 1–4 0–4 0–0 2–1 1–1
ไอน์ทรัคท์ฟรังค์ฟวร์ท 5–0 2–2 1–2 2–2 2–2 2–1 3–3 1–0 2–4 2–0 3–0 0–2 1–3 5–1 3–2 2–1 0–2
เอ็สเซ ไฟรบวร์ค 1–1 2–1 3–1 0–1 2–2 0–2 1–0 1–0 1–2 2–1 0–1 3–0 1–0 1–3 0–2 4–0 1–0
1899 ฮ็อฟเฟินไฮม์ 2–4 0–3 4–0 3–2 2–1 1–1 1–2 0–3 3–1 0–2 2–1 1–5 0–3 0–6 3–0 2–0 2–3
แอร์สเทอ เอ็ฟเซ เคิลน์ 1–1 0–4 1–2 1–0 1–3 2–2 1–1 4–0 1–2 2–4 2–0 2–2 0–1 1–4 3–0 3–0 3–1
แอร์เบ ไลพ์ซิช 3–1 2–2 3–1 3–0 0–2 2–2 2–1 1–1 3–1 4–1 1–1 8–0 2–2 1–1 1–1 1–3 1–1
ไบเออร์เลเวอร์คูเซิน 2–0 0–1 2–0 2–2 4–3 3–0 4–0 1–1 0–0 3–1 1–1 1–0 1–2 2–4 3–2 2–1 1–4
ไมนทซ์ 05 0–1 2–1 2–3 3–1 0–4 1–1 2–1 1–2 0–1 3–1 0–5 0–1 1–3 1–3 2–0 0–0 0–1
โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค 5–1 2–1 4–1 3–1 1–2 2–1 4–2 4–2 1–1 2–1 1–3 1–3 3–1 2–1 2–0 0–0 3–0
ไบเอิร์นมิวนิก 2–0 2–2 2–1 6–1 4–0 5–0 5–2 3–1 1–2 4–0 0–0 1–2 6–1 2–1 3–2 5–0 2–0
เอ็สเซ พาเดอร์บอร์น 0–1 1–2 1–1 1–5 1–6 2–0 2–1 1–3 1–1 1–2 2–3 1–4 1–2 1–3 2–3 1–5 2–4
ชัลเคอ 04 0–3 3–0 2–1 0–1 0–0 3–3 1–0 2–2 1–1 1–1 0–5 1–1 2–1 2–0 0–3 1–1 1–4
เฟาเอ็ฟเอ็ล ว็อลฟส์บวร์ค 0–0 1–2 1–0 2–3 0–2 1–1 1–2 2–2 1–1 2–1 0–0 0–2 4–0 2–1 0–4 1–1 1–1
นับผลการแข่งขันล่าสุดถึงวันที่ 27 มิถุนายน ค.ศ. 2020. ที่มา: DFB
สีฟ้าหมายถึงทีมเหย้าชนะ สีเหลืองหมายถึงเสมอกัน และสีแดงหมายถึงทีมเยือนชนะ
อักษร "a" สำหรับการแข่งขันที่ยังไม่เกิดขึ้นหมายความว่ามีบทความเกี่ยวกับการแข่งขันนัดนี้

เพลย์ออฟเลื่อนชั้น-ตกชั้น

[แก้]

เวลาทั้งหมดคือ UTC+2.[56]

ภาพรวม

[แก้]
ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
แวร์เดอร์เบรเมิน 2–2 () ไฮเดินไฮม์ 0–0 2–2

นัดแรก

[แก้]

นัดที่สอง

[แก้]

รวมผลสองนัด เสมอ 2–2. แวร์เดอร์เบรเมินชนะด้วยกฎประตูทีมเยือนและเพราะฉะนั้นทั้งสองสโมสรที่เหลือจะได้อยู่ในลีกของพวกเขาตามเดิม.

สถิติตลอดฤดูกาล

[แก้]

อันดับผู้ทำประตู

[แก้]
ณ วันที่ 27 มิถุนายน ค.ศ. 2020 [57]
อันดับ ผู้เล่น สโมสร ประตู
1 โปแลนด์ รอแบร์ต แลวันดอฟสกี ไบเอิร์นมิวนิก 34
2 เยอรมนี ทีโม แวร์เนอร์ แอร์เบ ไลพ์ซิช 28
3 อังกฤษ เจดอน แซนโช โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ 17
4 เนเธอร์แลนด์ โวอุต เวกฮอร์สต์ เฟาเอ็ฟเอ็ล ว็อลฟส์บวร์ค 16
5 เยอรมนี รูเวิน เฮนนิงส์ ฟอร์ทูนาดึสเซิลดอร์ฟ 15
6 โคลอมเบีย ยห์อน กอร์โดบา แอร์สเทอ เอ็ฟเซ เคิลน์ 13
นอร์เวย์ อาลิง โฮลัน โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์
เยอรมนี โฟลเรียน ไนเดอร์เลชเนอร์ เอ็ฟเซ เอาคส์บวร์ค
สวีเดน โรบิน ไควสัน ไมนทซ์ 05
10 สวีเดน เซบัสเตียน อันเดอร์สสัน อูนีโอนแบร์ลีน 12
เยอรมนี แซร์ช กนาบรี ไบเอิร์นมิวนิก
เยอรมนี ไค ฮาเวิทซ์ ไบเออร์ เลเวอร์คูเซิน
โครเอเชีย อันเดรย์ ครามาริช เทเอ็สเก ฮ็อฟเฟินไฮม์
โปรตุเกส อังแดร ซิลวา ไอน์ทรัคท์ฟรังค์ฟวร์ท

อันดับการผ่านบอล

[แก้]
ณ วันที่ 27 มิถุนายน ค.ศ. 2020 [58]
อันดับ ผู้เล่น สโมสร การผ่านบอล
1 เยอรมนี โทมัส มึลเลอร์ ไบเอิร์นมิวนิก 21
2 อังกฤษ เจดอน แซนโช โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ 16
3 เบลเยียม ตอร์กาน อาซาร์ โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ 13
ฝรั่งเศส คริสโตเฟอร์ อึนคุนคู แอร์เบ ไลพ์ซิช
5 เซอร์เบีย ฟิลิป คอสติช ไอน์ทรัคท์ฟรังค์ฟวร์ท 11
6 เยอรมนี แซร์ช กนาบรี ไบเอิร์นมิวนิก 10
โมร็อกโก อัชร็อฟ ฮะกีมี โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์
ฝรั่งเศส อาลาสซาแน แปลอา โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค
9 เยอรมนี มักซิมิลีอาน อาร์โนลด์ เฟาเอ็ฟเอ็ล ว็อลฟส์บวร์ค 8
ฝรั่งเศส มาร์กุส ตูร็อม โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค
เยอรมนี คริสเตียน กุนเตอร์ เอ็สเซ ไฟรบวร์ค
อิตาลี วินเชนโซ กรีโฟ เอ็สเซ ไฟรบวร์ค
ออสเตรีย คริสโตเฟอร์ ทริมเมิล อูนีโอนแบร์ลีน
เยอรมนี ทีโม แวร์เนอร์ แอร์เบ ไลพ์ซิช

แฮท-ทริคส์

[แก้]
ผู้เล่น สโมสร ในนัดที่พบกับ ผล วันที่
โปแลนด์ รอแบร์ต แลวันดอฟสกี ไบเอิร์นมิวนิก ชัลเคอ 04 3–0 (A) 24 สิงหาคม 2019
เยอรมนี ทีโม แวร์เนอร์ แอร์เบ ไลพ์ซิช โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค 3–1 (A) 30 สิงหาคม 2019
เยอรมนี ทีโม แวร์เนอร์ แอร์เบ ไลพ์ซิช ไมนทซ์ 05 8–0 (H) 2 พฤศจิกายน 2019
เยอรมนี รูเวิน เฮนนิงส์ ฟอร์ทูนาดึสเซิลดอร์ฟ ชัลเคอ 04 3–3 (A) 9 พฤศจิกายน 2019
บราซิล ฟีลีปี โกชิญญู ไบเอิร์นมิวนิก แวร์เดอร์เบรเมิน 6–1 (H) 14 ธันวาคม 2019
สวีเดน โรบิน ไควสัน ไมนทซ์ 05 แวร์เดอร์เบรเมิน 5–0 (A) 17 ธันวาคม 2019
นอร์เวย์ อาลิง เบราต์ โฮลัน โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ เอ็ฟเซ เอาคส์บวร์ค 5–3 (A) 18 มกราคม 2020
สวีเดน โรบิน ไควสัน ไมนทซ์ 05 แฮร์ทา เบเอ็สเซ 3–1 (A) 8 กุมภาพันธ์ 2020
เนเธอร์แลนด์ โวอุต เวกฮอร์สต์ เฟาเอ็ฟเอ็ล ว็อลฟส์บวร์ค 1899 ฮ็อฟเฟินไฮม์ 3–2 (A) 15 กุมภาพันธ์ 2020
เยอรมนี ทีโม แวร์เนอร์ แอร์เบ ไลพ์ซิช ไมนทซ์ 05 5–0 (A) 24 พฤษภาคม 2020
อังกฤษ เจดอน แซนโช โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ เอ็สเซ พาเดอร์บอร์น 6–1 (A) 31 พฤษภาคม 2020
โครเอเชีย อันเดรย์ ครามาริช4 เทเอ็สเก ฮ็อฟเฟินไฮม์ โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ 4–0 (A) 27 มิถุนายน 2020
  • 4 ผู้เล่นที่ทำคนเดียวสี่ประตู

คลีนชีตส์

[แก้]
ณ วันที่ 27 มิถุนายน ค.ศ. 2020 [59]
อันดับ ผู้เล่น สโมสร คลีนชีตส์
1 เยอรมนี มานูเอล นอยเออร์ บาเยิร์นมิวนิก 15
2 สวิตเซอร์แลนด์ โรมัน เบือร์คี โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ 12
3 ฮังการี เปแตร์ กูลัคซี แอร์เบ ไลพ์ซิช 10
ฟินแลนด์ ลูคัส ฮราเดคกี ไบเออร์ เลเวอร์คูเซิน
5 นอร์เวย์ รูเน จาร์สไตน์ แฮร์ทา เบเอ็สเซ 9
6 โปแลนด์ ราฟัล กีคีวิคซ์ อูนีโอนแบร์ลีน 8
7 เยอรมนี โอลิเวอร์ เบามันน์ 1899 ฮ็อฟเฟินไฮม์ 7
สวิตเซอร์แลนด์ ยันน์ ซอมเมอร์ โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค
9 เยอรมนี ทีโม ฮอร์น แอร์สเทอ เอ็ฟเซ เคิลน์ 6
เยอรมนี อาเลกซันเดอร์ นือเบิล ชัลเคอ 04

รางวัล

[แก้]

รางวัลประจำเดือน

[แก้]
เดือน ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำเดือน ดาวรุ่งยอดเยี่ยมประจำเดือน ประตูยอดเยี่ยมประจำเดือน Ref.
ผู้เล่น สโมสร ผู้เล่น สโมสร ผู้เล่น สโมสร
สิงหาคม โปแลนด์ รอแบร์ต แลวันดอฟสกี ไบเอิร์นมิวนิก อังกฤษ จอนโจ เคนนี ชัลเคอ 04 โปแลนด์ รอแบร์ต แลวันดอฟสกี ไบเอิร์นมิวนิก [60][61][62]
กันยายน โมร็อกโก อามีเน ฮาริต ชัลเคอ 04 ฝรั่งเศส มาร์กุส ตูร็อม โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค เนเธอร์แลนด์ ยาไบโร ดิลโรซุน แฮร์ทา เบเอ็สเซ
ตุลาคม เยอรมนี แซร์ช ญาบรี ไบเอิร์นมิวนิก สวีเดน โรบิน ไควสัน ไมนทซ์ 05
พฤศจิกายน เยอรมนี ทีโม แวร์เนอร์ แอร์เบ ไลพ์ซิช เดนมาร์ก รอเบิร์ต สค็อฟ 1899 ฮ็อฟเฟินไฮม์
ธันวาคม เยอรมนี อิสมาอิล จาค็อบส์ แอร์สเทอ เอ็ฟเซ เคิลน์ บราซิล ฟีลีปี โกชิญญู ไบเอิร์นมิวนิก
มกราคม นอร์เวย์ อาลิง โฮลัน โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ นอร์เวย์ อาลิง โฮลัน โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ เยอรมนี โฟลเรียน นอยเฮาส์ โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค
กุมภาพันธ์ อังกฤษ เจดอน แซนโช เยอรมนี แอมแร จัน โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์
พฤษภาคม เยอรมนี ไค ฮาเวิทซ์ ไบเออร์ เลเวอร์คูเซิน แคนาดา อัลฟอนโซ เดวีส์ ไบเอิร์นมิวนิก เยอรมนี โยซูอา คิมมิช ไบเอิร์นมิวนิก
มิถุนายน โปรตุเกส อังแดร ซิลวา ไอน์ทรัคท์ฟรังค์ฟวร์ท

รางวัลส่วนบุคคล

[แก้]
รางวัล ชนะเลิศ สโมสร Ref.
ผู้เล่นประจำฤดูกาล โปแลนด์ รอแบร์ต แลวันดอฟสกี ไบเอิร์นมิวนิก [63]
ดาวเด่นประจำฤดูกาล แคนาดา อัลฟอนโซ เดวีส์ [64]
ประตูประจำฤดูกาล เยอรมนี แอมแร จัน โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ [65]

หมายเหตุ

[แก้]
  1. All 83 matches played after 8 March 2020 have been, or are scheduled to be, played behind closed doors without any spectators.
  2. The average league attendance was 40,865 after 223 matches prior to fixtures being played behind closed doors.

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 "German Bundesliga Performance Stats – 2019–20". ESPN. สืบค้นเมื่อ 8 October 2019.
  2. "DFB-Präsidium verabschiedet Rahmenterminkalender" [DFB executive committee passes framework schedule]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 7 December 2018. สืบค้นเมื่อ 7 December 2018.
  3. Reinold, Jan (11 April 2019). "Neue Regel: Mehr Auswechselspieler - auch Mehr-Kosten?" [New rule: More substitutes – also more costs?]. kicker.de (ภาษาเยอรมัน). kicker-sportmagazin. สืบค้นเมื่อ 26 July 2019.
  4. "Nach aktuellen Entwicklungen in Zusammenhang mit dem Corona-Virus: DFL beschließt Verlegung des 26. Spieltags der Bundesliga und 2. Bundesliga" [After current developments in connection with the coronavirus: DFL decides to postpone the 26th matchday of the Bundesliga and 2. Bundesliga]. Deutsche Fußball Liga (ภาษาเยอรมัน). 13 March 2020. สืบค้นเมื่อ 13 March 2020.
  5. "Politik ermöglicht Saisonfortsetzung ab der zweiten Maihälfte". dfb.de. 6 May 2020. สืบค้นเมื่อ 6 May 2020.
  6. Thilo, Adam (12 June 2020). "Welche Entscheidungen jetzt schon fallen können" [Which decisions can now already be made]. Der Spiegel (ภาษาเยอรมัน). สืบค้นเมื่อ 13 June 2020.
  7. "Zahlen und Fakten". fcaugsburg.de (ภาษาเยอรมัน). FC Augsburg. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-06-19. สืบค้นเมื่อ 16 July 2018.
  8. "Das Berliner Olympiastadion". herthabsc.de (ภาษาเยอรมัน). Hertha BSC. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-09-30. สืบค้นเมื่อ 16 July 2018.
  9. "Unsere Heimat seit 1920". fc-union-berlin.de (ภาษาเยอรมัน). 1. FC Union Berlin. สืบค้นเมื่อ 28 May 2019.
  10. "Stadionplan". weserstadion.de (ภาษาเยอรมัน). Bremer Weser-Stadion GmbH. สืบค้นเมื่อ 4 September 2014.
  11. "Signal Iduna Park". bvb.de (ภาษาเยอรมัน). Borussia Dortmund GmbH & Co. KGaA. สืบค้นเมื่อ 16 July 2018.
  12. "Stadiondaten". f95.de (ภาษาเยอรมัน). Düsseldorfer Turn- und Sportverein Fortuna 1895 e.V. สืบค้นเมื่อ 16 July 2018.
  13. "Eckdaten". eintracht.de (ภาษาเยอรมัน). Eintracht Frankfurt. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-01-05. สืบค้นเมื่อ 16 July 2018.
  14. "Schwarzwald-Stadion". scfreiburg.com (ภาษาเยอรมัน). SC Freiburg. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-12-30. สืบค้นเมื่อ 23 April 2017.
  15. "Die Wirsol Rhein-Neckar-Arena in Zahlen". achtzehn99.de (ภาษาเยอรมัน). TSG 1899 Hoffenheim Fußball-Spielbetriebs GmbH. สืบค้นเมื่อ 16 July 2018.
  16. "RheinEnergieSTADION". rheinenergiestadion.de. Kölner Sportstätten GmbH. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-06-06. สืบค้นเมื่อ 29 December 2015.
  17. "Daten und Fakten". dierotenbullen.com (ภาษาเยอรมัน). RasenBallsport Leipzig. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-07-17. สืบค้นเมื่อ 16 July 2018.
  18. "Die BayArena". bayer04.de (ภาษาเยอรมัน). Bayer 04 Leverkusen Fußball GmbH. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-07-16. สืบค้นเมื่อ 16 July 2018.
  19. "Unsere Arena". mainz05.de (ภาษาเยอรมัน). 1. FSV Mainz 05 e. V. สืบค้นเมื่อ 16 July 2018.
  20. "Das ist Der Borussia-Park". borussia.de (ภาษาเยอรมัน). Borussia Mönchengladbach. สืบค้นเมื่อ 16 July 2018.
  21. "Allgemeine Informationen zur Allianz Arena". allianz-arena.com (ภาษาเยอรมัน). FC Bayern München AG. สืบค้นเมื่อ 16 July 2018.
  22. "Lottoabrechnung 2001" (PDF). scp07.de (ภาษาเยอรมัน). SC Paderborn 07 e.V. สืบค้นเมื่อ 20 May 2019.[ลิงก์เสีย]
  23. "Die VELTINS-Arena". schalke04.de (ภาษาเยอรมัน). FC Gelsenkirchen-Schalke 04 e.V. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-07-16. สืบค้นเมื่อ 16 July 2018.
  24. "Daten und Fakten". vfl-wolfsburg.de (ภาษาเยอรมัน). VfL Wolfsburg. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-04-26. สืบค้นเมื่อ 1 December 2015.
  25. "Trainerstatistik – Bundesliga" [Manager statistics – Bundesliga]. fupa.net. FuPa GmbH. 6 March 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-06-07. สืบค้นเมื่อ 13 March 2017.
  26. 26.0 26.1 "Die Trikotsponsoren und Ausrüster der Bundesliga und 2. Bundesliga 2016/17" [The kit sponsors and manufacturers of the 2016–17 Bundesliga]. Bundesliga.de (ภาษาเยอรมัน). DFL Deutsche Fußball Liga GmbH. 26 August 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-04-06. สืบค้นเมื่อ 13 March 2017.
  27. "Wer macht den Deal: Fortuna Düsseldorf und VfL Bochum buhlen um Millionen-Vertrag". derwesten.de. FUNKE MEDIEN NRW GmbH. 23 March 2017. สืบค้นเมื่อ 23 May 2017.
  28. 28.0 28.1 "Bestätigt: Nagelsmann ab 2019 Trainer bei RB Leipzig". kicker.de (ภาษาเยอรมัน). kicker. 21 June 2018. สืบค้นเมื่อ 11 March 2019.
  29. "Nagelsmann-Nachfolger: Schreuder übernimmt Hoffenheim". kicker.de (ภาษาเยอรมัน). kicker. 19 March 2019. สืบค้นเมื่อ 7 April 2019.
  30. "Rangnick wieder Chef – auch "wegen des Themas Sprache"". kicker.de (ภาษาเยอรมัน). kicker. 9 July 2018. สืบค้นเมื่อ 11 March 2019.
  31. "Labbadia verlässt Wolfsburg im Sommer - Nachfolger Rose?". kicker.de (ภาษาเยอรมัน). kicker. 12 March 2019. สืบค้นเมื่อ 2 April 2019.
  32. "Bestätigt: Glasner wird Labbadia-Nachfolger". kicker.de (ภาษาเยอรมัน). kicker. 23 April 2019. สืบค้นเมื่อ 23 April 2019.
  33. "Schalke 04 stellt Chef-Trainer Domenico Tedesco frei". schalke04.de (ภาษาเยอรมัน). 14 March 2019. สืบค้นเมื่อ 14 March 2019.
  34. "Bis 2022: David Wagner neuer Trainer beim FC Schalke". kicker.de (ภาษาเยอรมัน). kicker. 9 May 2019. สืบค้นเมื่อ 9 May 2019.
  35. "Gladbach trennt sich zum Saisonende von Trainer Hecking". kicker.de (ภาษาเยอรมัน). kicker. 2 April 2019. สืบค้นเมื่อ 2 April 2019.
  36. "Offiziell: Rose wird im Sommer Trainer in Gladbach" [Official: Rose becomes Gladbach manager in summer]. kicker.de (ภาษาเยอรมัน). kicker. 10 April 2019. สืบค้นเมื่อ 10 April 2019.
  37. "Trainerwechsel im Sommer". herthabsc.de (ภาษาเยอรมัน). 16 April 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-04-16. สืบค้นเมื่อ 16 April 2019.
  38. "Covic wird neuer Cheftrainer bei Hertha BSC". kicker.de (ภาษาเยอรมัน). kicker. 12 May 2019. สืบค้นเมื่อ 12 May 2019.
  39. "FC trennt sich von Markus Anfang". fc.de. 27 April 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-06-09. สืบค้นเมื่อ 2019-08-16.
  40. "Beierlorzer wird Trainer beim 1. FC Köln". kicker.de (ภาษาเยอรมัน). kicker. 13 May 2019. สืบค้นเมื่อ 13 May 2019.
  41. "FC Bayern and head coach Niko Kovac part company". fcbayern.com. Bayern Munich. 3 November 2019. สืบค้นเมื่อ 3 November 2019.
  42. "Bayern München trennt sich von Trainer Kovac" [Bayern Munich separates from coach Kovac]. kicker.de (ภาษาเยอรมัน). Nuremberg: kicker. 3 November 2019. สืบค้นเมื่อ 3 November 2019.
  43. "FC and Achim Beierlorzer part ways". fc.de. 1. FC Köln. 9 November 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-11-11. สืบค้นเมื่อ 11 November 2019.
  44. "FC sign Horst Heldt and Markus Gisdol". fc.de. 1. FC Köln. 18 November 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-04-23. สืบค้นเมื่อ 18 November 2019.
  45. ""Mainz will always be my home and will be in my heart forever"". mainz05.de. 1. FSV Mainz 05. 11 November 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-11-12. สืบค้นเมื่อ 11 November 2019.
  46. "Achim Beierlorzer is the new head coach of the Zerofivers". mainz05.de. 1. FSV Mainz 05. 18 November 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-04-23. สืบค้นเมื่อ 18 November 2019.
  47. "Ante Covic leaves Hertha by mutual consent". herthabsc.de. Hertha BSC. 27 November 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-12-19. สืบค้นเมื่อ 27 November 2019.
  48. "Jürgen Klinsmann wird Trainer bei Hertha BSC". Der Spiegel (ภาษาเยอรมัน). Deutsche Presse-Agentur. 27 November 2019. สืบค้นเมื่อ 27 November 2019.
  49. "Fortuna Düsseldorf entlässt Trainer Funkel". kicker.de (ภาษาเยอรมัน). kicker. 29 January 2020. สืบค้นเมื่อ 29 January 2020.
  50. "Funkel-Nachfolger gefunden: Rösler wird Fortuna-Trainer". kicker.de (ภาษาเยอรมัน). kicker. 29 January 2020. สืบค้นเมื่อ 29 January 2020.
  51. ""Am Morgen überrascht worden": Hertha bestätigt Klinsmann-Rücktritt". kicker.de (ภาษาเยอรมัน). kicker. 11 February 2020. สืบค้นเมื่อ 11 February 2020.
  52. "Der FC Augsburg stellt Trainer Martin Schmidt frei". kicker.de (ภาษาเยอรมัน). kicker. 9 March 2020. สืบค้นเมื่อ 9 March 2020.
  53. "FCA präsentiert Schmidt-Nachfolger: Herrlich übernimmt" [FCA presents Schmidt-successor: Herrlich takes over]. kicker.de (ภาษาเยอรมัน). kicker. 10 March 2020. สืบค้นเมื่อ 10 March 2020.
  54. "Bruno Labbadia neuer Cheftrainer bei Hertha BSC". herthabsc.de (ภาษาเยอรมัน). 9 April 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-04-11. สืบค้นเมื่อ 9 April 2020.
  55. "Spielordnung (SpOL)" [Match rules] (PDF). DFL.de (ภาษาเยอรมัน). Deutsche Fußball Liga. 14 December 2018. p. 3. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 17 March 2019. สืบค้นเมื่อ 17 March 2019.
  56. "Rahmenterminkalender: Relegation zur 2. Bundesliga am 7./11. Juli". dfb.de. สืบค้นเมื่อ 5 June 2020.
  57. "Goalscorers". kicker.de (ภาษาเยอรมัน). สืบค้นเมื่อ 18 August 2019.
  58. "Scorers". kicker.de (ภาษาเยอรมัน). สืบค้นเมื่อ 18 August 2019.
  59. "Goalkeepers". kicker.de (ภาษาเยอรมัน). สืบค้นเมื่อ 8 December 2019.
  60. "Bundesliga Player of the Month". Bundesliga. สืบค้นเมื่อ 20 September 2019.
  61. "Bundesliga Rookie Award". Bundesliga. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-11-03. สืบค้นเมื่อ 3 November 2019.
  62. "Bundesliga Goal of the Month". Bundesliga. สืบค้นเมื่อ 3 November 2019.
  63. "Robert Lewandowski voted Player of the Season for 2019/20!". Bundesliga. 26 June 2020. สืบค้นเมื่อ 26 June 2020.
  64. "Bundesliga Rookie Award". Bundesliga. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-11-03. สืบค้นเมื่อ 3 November 2019.
  65. "Goal of the Season: Emre Can's stunner against Leverkusen wins vote!". Bundesliga. 17 June 2020. สืบค้นเมื่อ 17 June 2020.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]