ข้ามไปเนื้อหา

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป รุ่นอายุไม่เกิน 21 ปี 2019

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป
รุ่นอายุไม่เกิน 21 ปี 2019
Campionato europeo di calcio Under-21 2019
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพอิตาลี
ซานมารีโน
วันที่16–30 มิถุนายน ค.ศ. 2019[1]
ทีม12 (จาก 1 สมาพันธ์)
สถานที่(ใน 6 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศ สเปน (สมัยที่ 5)
รองชนะเลิศ เยอรมนี
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน21
จำนวนประตู78 (3.71 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม214,637 (10,221 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดเยอรมนี Luca Waldschmidt (7 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมสเปน Fabián Ruiz
2017
2021

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป รุ่นอายุไม่เกิน 21 ปี 2019 เป็นการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป รุ่นอายุไม่เกิน 21 ปี ครั้งที่ 22 จัดโดยยูฟ่า ซึ่งเป็นการแข่งขันของทีมเยาวชนรุ่นอายุไม่เกิน 21 ปีจากทีมยุโรป. ทัวร์นาเมนต์รอบสุดท้ายจะเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันใน ประเทศอิตาลี และ ประเทศซานมารีโน ในช่วงกลางปี ค.ศ. 2019, หลังจากการเสนอตัวเป็นเจ้าภาพของพวกเขาได้ถูกเลือกโดยคณะกรรมการบริหารยูฟ่าเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2559 ในเมือง นียง, ประเทศสวิตเซอร์แลนด์.[2][3]

ทั้งหมด 12 ทีมที่จะลงเล่นในทัวร์นาเมนต์, กับผู้เล่นที่เกิดก่อนหรือหลังวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1996 ที่จะมีสิทธิ์เข้าร่วม.[4]

เจ้าภาพ[แก้]

สหพันธ์ฟุตบอลอิตาลี ได้ยืนยันว่าอิตาลีได้เสนอชื่อเข้าร่วมเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันในปี ค.ศ. 2019,[5] ซึ่งพวกเขาเกี่ยวข่องกับ สหพันธ์ฟุตบอลซานมารีโน. อิตาลีและซานมารีโนได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเจ้าภาพในการประชุมของคณะกรรมการบริหารยูฟ่าในเมืองนียงเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม ค.ศ. 2016.[2]

รอบคัดเลือก[แก้]

ทีมที่ผ่านเข้ารอบ[แก้]

ทีมด้านล่างนี้ได้สิทธิ์สำหรับรอบสุดท้าย.

หมายเหตุ: สถิติการลงสนามทั้งหมดประกอบไปด้วยยุค ยู-21 เท่านั้น (นับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1978).

ทีม วิธีการของรอบคัดเลือก วันที่ของรอบคัดเลือก จำนวนครั้งที่ลงสนาม
ในรอบสุดท้าย
เข้าร่วมครั้งล่าสุด จำนวนครั้งที่ลงสนาม
ในรอบสุดท้าย
ครั้งที่ผ่านมา
 อิตาลี เจ้าภาพ 9 ธันวาคม 2016 ครั้งที่ 20 2017 (รอบรองชนะเลิศ) แชมป์ (1992, 1994, 1996, 2000, 2004)
 สเปน กลุ่ม 2 ชนะเลิศ 6 กันยายน 2018 ครั้งที่ 14 2017 (รองชนะเลิศ) แชมป์ (1986, 1998, 2011, 2013)
 ฝรั่งเศส กลุ่ม 9 ชนะเลิศ 7 กันยายน 2018 ครั้งที่ 9 2006 (รอบรองชนะเลิศ) แชมป์ (1988)
 อังกฤษ กลุ่ม 4 ชนะเลิศ 11 ตุลาคม 2018 ครั้งที่ 15 2017 (รอบรองชนะเลิศ) แชมป์ (1982, 1984)
 เซอร์เบีย กลุ่ม 7 ชนะเลิศ 12 ตุลาคม 2018 ครั้งที่ 11[SRB] 2017 (รอบแบ่งกลุ่ม) แชมป์ (1978) (as Yugoslavia)[SRB]
 เยอรมนี กลุ่ม 5 ชนะเลิศ 12 ตุลาคม 2018 ครั้งที่ 12 2017 (แชมป์) แชมป์ (2009, 2017)
 โครเอเชีย กลุ่ม 1 ชนะเลิศ 15 ตุลาคม 2018 ครั้งที่ 3 2004 (รอบแบ่งกลุ่ม) รอบแบ่งกลุ่ม (2000, 2004)
 เดนมาร์ก กลุ่ม 3 ชนะเลิศ 16 ตุลาคม 2018 ครั้งที่ 8 2017 (รอบแบ่งกลุ่ม) รอบรองชนะเลิศ (1992, 2015)
 เบลเยียม กลุ่ม 6 ชนะเลิศ 16 ตุลาคม 2018 ครั้งที่ 3 2007 (รอบรองชนะเลิศ) รอบรองชนะเลิศ (2007)
 โรมาเนีย กลุ่ม 8 ชนะเลิศ 16 ตุลาคม 2018 ครั้งที่ 2 1998 (รอบก่อนรองชนะเลิศ) รอบก่อนรองชนะเลิศ (1998)
 โปแลนด์ เพลย์ออฟ ชนะเลิศ 20 พฤศจิกายน 2018 ครั้งที่ 7 2017 (รอบแบ่งกลุ่ม) รอบก่อนรองชนะเลิศ (1982, 1984, 1986, 1992, 1994)
 ออสเตรีย เพลย์ออฟ ชนะเลิศ 20 พฤศจิกายน 2018 ครั้งที่ 1 ครั้งแรก
หมายเหตุ
  1. ^ a b Appearances include 4 as Yugoslavia and 2 as Serbia and Montenegro. Their previous best performance as Serbia was runners-up (2007).

การจับสลากรอบสุดท้าย[แก้]

การจับสลากรอบสุดท้ายได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561, 18:00 CET (UTC+1), ที่สำนักงานใหญ่ แลมบอร์กินี ในกรุง Sant'Agata Bolognese,[6][7][8] and was conducted by tournament ambassador Andrea Pirlo, who won the tournament in 2000.[9]

เจ้าภาพ
ทีม
 อิตาลี
โถ 1
ทีม Coeff
 เยอรมนี 39,913
 อังกฤษ 37,946
โถ 2
ทีม Coeff
 สเปน 37,774
 เดนมาร์ก 35,533
 ฝรั่งเศส 35,182
โถ 3
ทีม Coeff
 เซอร์เบีย 33,083
 โครเอเชีย 32,952
 เบลเยียม 32,122
 ออสเตรีย 31,767
 โปแลนด์ 30,946
 โรมาเนีย 29,259

สนามแข่งขัน[แก้]

เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2559, Italian Football Federation pre-selected venues (included one inside San Marino territory):[10]

Bologna Reggio nell'Emilia Cesena
Stadio Renato Dall'Ara Mapei Stadium – Città del Tricolore Stadio Dino Manuzzi
ความจุ: 38 279 ความจุ: 23 717 ความจุ: 23 860
Trieste Udine Serravalle (San Marino)
Stadio Nereo Rocco Stadio Friuli San Marino Stadium
ความจุ: 28 565 ความจุ: 25 144 ความจุ: 4 877

ผู้เล่น[แก้]

รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]

ชนะเลิศของแต่ละกลุ่มและทีมรองชนะเลิศที่ดีที่สุดจะได้ผ่านเข้าสู่รอบรองชนะเลิศและได้สิทธิ์สำหรับ โอลิมปิกฤดูร้อน 2020.

เวลาทั้งหมดคือเวลาท้องถิ่น, CEST (UTC+2).[11]

กลุ่ม เอ[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  สเปน 3 2 0 1 8 4 +4 6[a] รอบแพ้คัดออก และ โอลิมปิกฤดูร้อน 2020
2  อิตาลี (H) 3 2 0 1 6 3 +3 6[a] รอบแพ้คัดออก และ โอลิมปิกฤดูร้อน 2020 ถ้า รองชนะเลิศที่ดีที่สุด
3  โปแลนด์ 3 2 0 1 4 7 −3 6[a]
4  เบลเยียม 3 0 0 3 4 8 −4 0
แหล่งที่มา : ยูฟ่า
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
(H) เจ้าภาพ.
หมายเหตุ :
  1. 1.0 1.1 1.2 เฮด-ทู-เฮด ผลต่างประตู: สเปน +3, อิตาลี +1, โปแลนด์ –4.
โปแลนด์ 3–2 เบลเยียม
Żurkowski ประตู 26'
Bielik ประตู 52'
Szymański ประตู 79'
รายงาน Leya Iseka ประตู 16'
Cools ประตู 84'
ผู้ชม: 2,534 คน[12]
ผู้ตัดสิน: István Kovács (โรมาเนีย)

สเปน 2–1 เบลเยียม
Olmo ประตู 7'
Fornals ประตู 89'
รายงาน Bornauw ประตู 24'
ผู้ชม: 2,738 คน[14]
ผู้ตัดสิน: Andris Treimanis (ลัตเวีย)
อิตาลี 0–1 โปแลนด์
รายงาน Bielik ประตู 40'
ผู้ชม: 26,890 คน[15]
ผู้ตัดสิน: Aleksei Kulbakov (เบลารุส)

เบลเยียม 1–3 อิตาลี
Verschaeren ประตู 79' รายงาน Barella ประตู 44'
Cutrone ประตู 53'
Chiesa ประตู 89'
สเปน 5–0 โปแลนด์
Fornals ประตู 17'
Oyarzabal ประตู 35'
Fabián ประตู 39'
Ceballos ประตู 71'
Mayoral ประตู 90'
รายงาน
ผู้ชม: 3,122 คน[17]
ผู้ตัดสิน: Bobby Madden (สกอตแลนด์)

กลุ่ม บี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  เยอรมนี 3 2 1 0 10 3 +7 7 รอบแพ้คัดออก และ โอลิมปิกฤดูร้อน 2020
2  เดนมาร์ก 3 2 0 1 6 4 +2 6 รอบแพ้คัดออก และ โอลิมปิกฤดูร้อน 2020 ถ้า รองชนะเลิศที่ดีที่สุด
3  ออสเตรีย 3 1 1 1 4 4 0 4
4  เซอร์เบีย 3 0 0 3 1 10 −9 0
แหล่งที่มา : ยูฟ่า
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
เซอร์เบีย 0–2 ออสเตรีย
รายงาน Wolf ประตู 37'
Horvath ประตู 78'
ผู้ชม: 5,421 คน[18]
ผู้ตัดสิน: Andreas Ekberg (สวีเดน)
เยอรมนี 3–1 เดนมาร์ก
Richter ประตู 28'52'
Waldschmidt ประตู 65'
รายงาน Skov ประตู 73' (ลูกโทษ)
ผู้ชม: 7,131 คน[19]
ผู้ตัดสิน: Orel Grinfeld (อิสราเอล)

เดนมาร์ก 3–1 ออสเตรีย
Mæhle ประตู 33'77'
Olsen ประตู 90+3'
รายงาน Lienhart ประตู 47'
ผู้ชม: 7,297 คน[20]
ผู้ตัดสิน: Georgi Kabakov (บัลแกเรีย)
เยอรมนี 6–1 เซอร์เบีย
Richter ประตู 16'
Waldschmidt ประตู 30'37'80'
Dahoud ประตู 69'
Maier ประตู 90+2'
รายงาน Živković ประตู 85' (ลูกโทษ)
ผู้ชม: 9,837 คน[21]
ผู้ตัดสิน: István Kovács (โรมาเนีย)

ออสเตรีย 1–1 เยอรมนี
Danso ประตู 24' (ลูกโทษ) รายงาน Waldschmidt ประตู 14'
ผู้ชม: 9,100 คน[22]
ผู้ตัดสิน: Andris Treimanis (ลัตเวีย)
เดนมาร์ก 2–0 เซอร์เบีย
Bruun Larsen ประตู 21'
Rasmussen ประตู 51'
รายงาน
ผู้ชม: 4,543 คน[23]
ผู้ตัดสิน: Aleksei Kulbakov (เบลารุส)

กลุ่ม ซี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  โรมาเนีย 3 2 1 0 8 3 +5 7 รอบแพ้คัดออก และ โอลิมปิกฤดูร้อน 2020
2  ฝรั่งเศส 3 2 1 0 3 1 +2 7
3  อังกฤษ[a] 3 0 1 2 6 9 −3 1
4  โครเอเชีย 3 0 1 2 4 8 −4 1
แหล่งที่มา : ยูฟ่า
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
หมายเหตุ :
  1. อังกฤษไม่มีสิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก.
โรมาเนีย 4–1 โครเอเชีย
Pușcaș ประตู 11' (ลูกโทษ)
Hagi ประตู 14'
Băluță ประตู 66'
Petre ประตู 90+3'
รายงาน Vlašić ประตู 18'
ผู้ชม: 4,035 คน[24]
ผู้ตัดสิน: Bobby Madden (สกอตแลนด์)
อังกฤษ 1–2 ฝรั่งเศส
Foden ประตู 54' รายงาน Ikoné ประตู 89'
Wan-Bissaka ประตู 90+5' (o.g.)
ผู้ชม: 11,288 คน[25]
ผู้ตัดสิน: Srđan Jovanović (เซอร์เบีย)

อังกฤษ 2–4 โรมาเนีย
Gray ประตู 79'
Abraham ประตู 87'
รายงาน Pușcaș ประตู 76' (ลูกโทษ)
Hagi ประตู 85'
Coman ประตู 89'90+3'
ผู้ชม: 8,440 คน[26]
ผู้ตัดสิน: Andreas Ekberg (สวีเดน)
ฝรั่งเศส 1–0 โครเอเชีย
Dembélé ประตู 8' รายงาน
ผู้ชม: 3,416 คน[27]

โครเอเชีย 3–3 อังกฤษ
Brekalo ประตู 39'82'
Vlašić ประตู 62'
รายงาน Nelson ประตู 11' (ลูกโทษ)
Maddison ประตู 48'
Kenny ประตู 70'
ผู้ชม: 3,512 คน[28]
ผู้ตัดสิน: Orel Grinfeld (อิสราเอล)
ฝรั่งเศส 0–0 โรมาเนีย
รายงาน
ผู้ชม: 12,861 คน[29]
ผู้ตัดสิน: Georgi Kabakov (บัลแกเรีย)

ตารางคะแนนทีมอันดับสองที่ดีที่สุด[แก้]

อันดับ กลุ่ม ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ซี  ฝรั่งเศส 3 2 1 0 3 1 +2 7 รอบแพ้คัดออก และ โอลิมปิกฤดูร้อน 2020
2 เอ  อิตาลี 3 2 0 1 6 3 +3 6
3 บี  เดนมาร์ก 3 2 0 1 6 4 +2 6
แหล่งที่มา : ยูฟ่า
กฎการจัดอันดับ : 1) points; 2) goal difference; 3) goals scored; 4) disciplinary points; 5) coefficient (Regulations Article 18.03).[4]

รอบแพ้คัดออก[แก้]

สายการแข่งขัน[แก้]

 
รอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
      
 
27 มิถุนายน – เรจจิโอ เอมิเลีย
 
 
 สเปน4
 
30 มิถุนายน – อูดิเน
 
 ฝรั่งเศส1
 
 สเปน2
 
27 มิถุนายน – โบโลญญา
 
 เยอรมนี1
 
 เยอรมนี4
 
 
 โรมาเนีย2
 

รอบรองชนะเลิศ[แก้]

เยอรมนี 4–2 โรมาเนีย
Amiri ประตู 21'90+4'
Waldschmidt ประตู 51' (ลูกโทษ)90'
รายงาน Pușcaș ประตู 26' (ลูกโทษ)44'
ผู้ชม: 16,211 คน[30]
ผู้ตัดสิน: Orel Grinfeld (อิสราเอล)

สเปน 4–1 ฝรั่งเศส
Marc Roca ประตู 28'
Oyarzabal ประตู 45+5' (ลูกโทษ)
Olmo ประตู 47'
Mayoral ประตู 67'
รายงาน Mateta ประตู 16' (ลูกโทษ)

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

สเปน 2–1 เยอรมนี
Fabián ประตู 7'
Olmo ประตู 69'
รายงาน Amiri ประตู 88'
ผู้ชม: 23,232 คน[32]
ผู้ตัดสิน: Srđan Jovanović (เซอร์เบีย)

อันดับดาวซัลโว[แก้]

การแข่งขันทั้งหมดมี 78 ประตูที่ทำได้ใน 21 นัด, สำหรับค่าเฉลี่ย 3.71 ประตูต่อนัด.

7 ประตู
4 ประตู
3 ประตู
2 ประตู
1 ประตู
1 การทำเข้าประตูตัวเอง
  • อังกฤษ Aaron Wan-Bissaka (ในนัดที่พบกับ ฝรั่งเศส)

อ้างอิง[แก้]

  1. "UEFA Europa League Final 2019 to be played on 29 May". UEFA. 4 April 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-05-09. สืบค้นเมื่อ 2017-09-14.
  2. 2.0 2.1 "Italy to host 2019 Under-21 EURO". uefa.com. 9 ธันวาคม ค.ศ. 2016. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  3. "LA UEFA ASSEGNA ALL'ITALIA E SAN MARINO L'EUROPEO UNDER 21 DEL 2019". San Marino Football Federation. 9 ธันวาคม ค.ศ. 2016. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  4. 4.0 4.1 "2017-19 UEFA European Under-21 Championship regulations" (PDF). UEFA.
  5. "ITALY WILL SUBMIT APPLICATION TO HOST U21 2019 EUROPEAN CHAMPIONSHIP TO UEFA". FIGC.it. 10 July 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-08-26. สืบค้นเมื่อ 2019-02-26.
  6. "Final tournament draw". UEFA.com.
  7. "Alle 18 a Bologna il sorteggio del Campionato Europeo: l'Italia inserita nel Gruppo A". Federazione Italiana Giuoco Calcio. 23 November 2018.
  8. "U21 EURO 2019 final tournament draw". UEFA.com. 23 November 2018.
  9. "A tribute to U21 EURO ambassador Andrea Pirlo". UEFA.com. 23 November 2018.
  10. "La UEFA assegna all'Italia l'Europeo Under 21 del 2019". Italian Football Federation. 9 December 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-08-22. สืบค้นเมื่อ 2018-04-14.
  11. "2019 Under-21 EURO calendar: all the fixtures". UEFA.com. 30 November 2018.
  12. "Poland U21 vs. Belgium U21". Soccerway. สืบค้นเมื่อ 24 June 2019.
  13. "Italy U21 vs. Spain U21". Soccerway. สืบค้นเมื่อ 24 June 2019.
  14. "Spain U21 vs. Belgium U21". Soccerway. สืบค้นเมื่อ 24 June 2019.
  15. "Italy U21 vs. Poland U21". Soccerway. สืบค้นเมื่อ 24 June 2019.
  16. "Belgium U21 vs. Italy U21". Soccerway. สืบค้นเมื่อ 25 June 2019.
  17. "Spain U21 vs. Poland U21". Soccerway. สืบค้นเมื่อ 25 June 2019.
  18. "Serbia U21 vs. Austria U21". Soccerway. สืบค้นเมื่อ 24 June 2019.
  19. "Germany U21 vs. Denmark U21". Soccerway. สืบค้นเมื่อ 24 June 2019.
  20. "Denmark U21 vs. Austria U21". Soccerway. สืบค้นเมื่อ 24 June 2019.
  21. "Germany U21 vs. Serbia U21". Soccerway. สืบค้นเมื่อ 24 June 2019.
  22. "Austria U21 vs. Germany U21". Soccerway. สืบค้นเมื่อ 25 June 2019.
  23. "Denmark U21 vs. Serbia U21". Soccerway. สืบค้นเมื่อ 25 June 2019.
  24. "Romania U21 vs. Croatia U21". Soccerway. สืบค้นเมื่อ 24 June 2019.
  25. "England U21 vs. France U21". Soccerway. สืบค้นเมื่อ 24 June 2019.
  26. "England U21 vs. Romania U21". Soccerway. สืบค้นเมื่อ 25 June 2019.
  27. "France U21 vs. Croatia U21". Soccerway. สืบค้นเมื่อ 25 June 2019.
  28. "Croatia U21 vs. England U21". Soccerway. สืบค้นเมื่อ 25 June 2019.
  29. "France U21 vs. Romania U21". Soccerway. สืบค้นเมื่อ 25 June 2019.
  30. "Germany U21 vs. Romania U21". Soccerway. สืบค้นเมื่อ 11 July 2019.
  31. "Spain U21 vs. France U21". Soccerway. สืบค้นเมื่อ 11 July 2019.
  32. "Spain U21 vs. Germany U21". Soccerway. สืบค้นเมื่อ 16 July 2019.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]