เดเอ็ฟเบ-โพคาล 2020 รอบชิงชนะเลิศ
โอลึมเพียชตาดิโยน ใน เบอร์ลิน จะเป็นเจ้าภาพนัดชิงชนะเลิศ. | |||||||
รายการ | เดเอ็ฟเบ-โพคาล ฤดูกาล 2019–20 | ||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
| |||||||
วันที่ | 4 กรกฎาคม ค.ศ. 2020 | ||||||
สนาม | โอลึมเพียชตาดิโยน, เบอร์ลิน | ||||||
ผู้ตัดสิน | โทเบียส เวลซ์ (ไวสบาเดิน)[1] | ||||||
ผู้ชม | 0[note 1] | ||||||
การแข่งขัน เดเอ็ฟเบ-โพคาล 2020 รอบชิงชนะเลิศ เป็นการตัดสินหาผู้ชนะของ เดเอ็ฟเบ-โพคาล ฤดูกาล 2019–20, ฤดูกาลที่ 77 ของฟุตบอลถ้วยหลักของเยอรมนี. นัดนี้ลงเล่นไปเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ. 2020 ที่สนาม โอลึมเพียชตาดิโยน ใน เบอร์ลิน.[2][3] แม้ว่าเดิมทีจะมีกำหนดการแข่งขันจะเป็นวันที่ 23 พฤษภาคม ค.ศ. 2020, สมาคมฟุตบอลเยอรมัน ได้ประกาศเลื่อนนัดชิงชนะเลิศไปเมื่อวันที่ 24 เมษายน เนื่องมาจาก การระบาดทั่วของโควิด-19 ในประเทศเยอรมนี.[4]
ทีม
[แก้]ในตารางด้านล่างนี้, คู่ชิงชนะเลิศนับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1943 จะเป็นยุคทสชัมเมอร์โพคาล, ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1953 จะเป็นยุค เดเอ็ฟเบ-โพคาล.
ทีม | จำนวนการลงสนามครั้งที่ผ่านมา (ตัวหนาหมายถึงทีมชนะเลิศ) |
---|---|
ไบเออร์ เลเวอร์คูเซิน | 3 (1993, 2002, 2009) |
ไบเอิร์นมิวนิก | 23 (1957, 1966, 1967, 1969, 1971, 1982, 1984, 1985, 1986, 1998, 1999, 2000, 2003, 2005, 2006, 2008, 2010, 2012, 2013, 2014, 2016, 2018, 2019) |
ภูมิหลัง
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ (February 2020) |
เส้นทางสู่รอบชิงชนะเลิศ
[แก้]เดเอ็ฟเบ-โพคาล เริ่มต้นกับ 64 ทีมในการแข่งขันรูปแบบถ้วยน็อคเอาต์ตกรอบเดียว. มีทั้งหมดห้ารอบนำหน้าก่อนถึงนัดชิงชนะเลิศ. แต่ละทีมถูกจับสลากพบกับทีมอื่น, และผู้ชนะหลังจบ 90 นาทีจะได้ผ่านเข้ารอบ. ถ้าเสมอกัน, 30 นาทีของ การต่อเวลาพิเศษ จะได้ลงเล่น. ถ้าผลการแข่งขันยังคงระดับอยู่, การดวลลูกโทษ จะเป็นวิธีที่นำมาใช้ในการตัดสินหาทีมชนะเลิศ.[5]
หมายเหตุ: ผลการแข่งขันด้านล่างนี้, ผลของทีมที่เข้าชิงชนะเลิศจะขึ้นเป็นตัวเลขแรก (H: เหย้า; A: เยือน).
ไบเออร์ เลเวอร์คูเซิน | รอบ | ไบเอิร์นมิวนิก | ||
---|---|---|---|---|
คู่แข่งขัน | ผล | เดเอ็ฟเบ-โพคาล ฤดูกาล 2019–20 | คู่แข่งขัน | ผล |
อาเลมันเนีย อาเคิน (A) | 4–1 | รอบแรก | เอเนอร์จี คอทท์บุส (A) | 3–1 |
เอ็สเซ พาเดอร์บอร์น (H) | 1–0 | รอบสอง | เฟาเอ็ฟเอ็ล โบคุม (A) | 2–1 |
เฟาเอ็ฟเบ ชตุทท์การ์ท (H) | 2–1 | รอบ 16 ทีมสุดท้าย | 1899 ฮ็อฟเฟินไฮม์ (H) | 4–3 |
อูนีโอนแบร์ลีน (H) | 3–1 | รอบก่อนรองชนะเลิศ | ชัลเคอ 04 (A) | 1–0 |
แอร์สเทอ เอ็ฟเซ ซาร์บรึคเคิน (A) | 3–0 | รอบรองชนะเลิศ | ไอน์ทรัคท์ฟรังค์ฟวร์ท (H) | 2–1 |
แมตช์
[แก้]รายละเอียด
[แก้]ไบเออร์ เลเวอร์คูเซิน | 2–4 | ไบเอิร์นมิวนิก |
---|---|---|
ส. เบ็นเดอร์ 63' ฮาเวิทซ์ 90+5' (ลูกโทษ) |
รายงาน | อาลาบา 16' แซร์ช กนาบรี 24' แลวันดอฟสกี 59', 89' |
ไบเออร์ เลเวอร์คูเซิน
|
ไบเอิร์นมิวนิก
|
ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[1]
|
ข้อมูลการแข่งขัน[6]
|
ดูเพิ่ม
[แก้]หมายเหตุ
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 รอบชิงชนะเลิศจะลงเล่น หลังประตูสนามปิด เนื่องจาก การระบาดทั่วของโควิด-19 ในประเทศเยอรมนี.
- ↑ แต่ละทีมจะได้รับโอกาสเพียงสามครั้งในการเปลี่ยนตัวผู้เล่น, ด้วยโอกาสครั้งที่สี่ในช่วงต่อเวลาพิเศษ, ไม่นับรวมการเปลี่ยนตัวในช่วงพักครึ่งแรก, ก่อนจะเริ่มของการต่อเวลาพิเศษและหมดครึ่งเวลาแรกในช่วงต่อเวลาพิเศษ.
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 "Welz leitet DFB-Pokalfinale in Berlin" [Welz leads the DFB-Pokal final in Berlin]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 4 July 2020. สืบค้นเมื่อ 4 July 2020.
- ↑ "Alle DFB-Pokalsieger" [All DFB-Pokal winners]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 21 May 2016. สืบค้นเมื่อ 6 June 2016.
- ↑ "DFB-Präsidium verabschiedet Rahmenterminkalender" [DFB executive committee passes framework schedule]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 7 December 2018. สืบค้นเมื่อ 7 December 2018.
- ↑ "Präsidium verlegt Termin des Pokalendspiels" [Executive Committee postpones date of cup final]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 24 April 2020. สืบค้นเมื่อ 24 April 2020.
- ↑ "Modus" [Mode]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 15 August 2012. สืบค้นเมื่อ 11 June 2015.
- ↑ "Spielordnung" [Match rules] (PDF). DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. p. 58 (60 of PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-10-05. สืบค้นเมื่อ 7 February 2020.